เกี่ยวกับชุดดินจัดตั้ง
 
 ความหมายของชุดดินจัดตั้ง
 ชุดดินจัดตั้งในประเทศไทย
 
ภาคเหนือ
ภาคกลาง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคใต้
  การจำแนกดินในประเทศไทย
 
 ทำไมต้องมีการจำแนกดิน
 วิธีการจำแนกดิน
   
  อนุกรมวิธานดินในประเทศไทย
 
 
อันดับดิน
 
อันดับย่อย
   
กลุ่มดินใหญ่
     
กลุ่มดินย่อย
       
วงศ์ดิน
 
 สืบค้นอนุกรมวิธานดิน
     
  สมบัติชุดดิน
 
 สมบัติทั่วไปของโปรไฟล์ดิน
 สมบัติของแต่ละชั้นดิน
   
  ระดับความเหมาะสม
 
 ทางการเกษตร
 ทางวิศวกรรม
   
  งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับชุดดิน 
   
  สารสนเทศกลุ่มชุดดิน
(WebGIS)
   
   

       เมื่อจําแนกดินในระดับอันดับย่อยแล้ว ได้จําแนกดินในระดับกลุ่มดินใหญ่ต่อโดยใช้ลักษณะและคุณสมบัติ ต่างๆ ของดินที่เกี่ยวข้องกับชนิดและอัตราการย่อยสลายตัว ของวัตถุ ต้นกําเนิดดิน ชนิดของการอิ่มตัวด้วยน้ำ การมีน้ำ เป็นองค์ประกอบ อุณหภูมิดิน ความชื้นในดิน เนื้อดินที่เป็นทราย การมีวัสดุอื่นเจือปนการสะสมสาร ต่างๆ ในดินล่าง เช่น ศิลาแลงอ่อน เกลือ กํามะถัน ยิปซัม ปูน ชั้นดานแข็งต่างๆ การสะสมอนุภาคดินเหนียว ดิน มีสีแดง หรือดินบนมีสีดําหนา ค่าความจุในการแลกเปลี่ยนแคต ไอออนต่าหรือการมีค่าอิ่มตัวด้วย เบสต่างกัน เป็นต้น ลักษณะและคุณสมบัติต่างๆ ของดินที่ใช้ในการจําแนกดินระดับกลุ่มดินใหญ่ต้องเป็นไปตามข้อกําหนด และอยู่นอกเหนือจากอันดับที่สูงกว่า เช่น อันดับ (Order) และอันดับย่อย (Suborder) กลุ่มดินใหญ่ (Great group) ที่พบในประเทศไทย มีดังนี้

อันดับ
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -   กลุ่มดินใหญ่   - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -