เกี่ยวกับชุดดินจัดตั้ง
 
 ความหมายของชุดดินจัดตั้ง
 ชุดดินจัดตั้งในประเทศไทย
 
ภาคเหนือ
ภาคกลาง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคใต้
  การจำแนกดินในประเทศไทย
 
 ทำไมต้องมีการจำแนกดิน
 วิธีการจำแนกดิน
   
  อนุกรมวิธานดินในประเทศไทย
 
 
อันดับดิน
 
อันดับย่อย
   
กลุ่มดินใหญ่
     
กลุ่มดินย่อย
       
วงศ์ดิน
 
 สืบค้นอนุกรมวิธานดิน
     
  สมบัติชุดดิน
 
 สมบัติทั่วไปของโปรไฟล์ดิน
 สมบัติของแต่ละชั้นดิน
   
  ระดับความเหมาะสม
 
 ทางการเกษตร
 ทางวิศวกรรม
   
  งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับชุดดิน 
   
  สารสนเทศกลุ่มชุดดิน
(WebGIS)
   
   

           ดินเกิดขึ้นจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการเกิดดินและการสร้างดิน เช่น ชนิดของวัตถุต้นกําเนิดดิน สภาพพื้นที่ สิ่งที่มีชีวิต มนุษย์พืชและสัตว์สภาพภูมิอากาศและระยะเวลาที่เกิดดิน ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ จะทําให้ดินเกิดเกิดการเปลี่ยนแปลง เพิ่มเติม สูญเสีย โยกย้ายหรือแปรสภาพไป ทำให้ดินที่พบในสภาพแวดล้อมที่ แตกต่างกันมีลักษณะทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อศักยภาพของดินในการใช้ประโยชน์ทาง ด้านการเกษตร วิศวกรรม และสิ่งแวดล้อม

        การสำรวจดิน (Soil survey) เป็นการใช้เทคนิคการสำรวจ เช่น การแปลภาพถ่ายทางอากาศ การสำรวจวงรอบ การวิเคราะห์ ข้อมูลระยะไกล หรือ การวิเคราะห์ข้อมูลภูมิประเทศ ผสานกับองค์ความรู้ด้านความสัมพันธ์ ระหว่าง สภาพภูมิสัณฐาน ปัจจัยที่ เกี่ยวข้องกับกระบวนการเกิดดิน และลักษณะของดินที่ตรวจสอบได้ในภาคสนามเพื่อช่วยใน การแบ่งขอบเขตของดินต่างประเภทกัน ผลลัพธ์ที่ได้คือหน่วยแผนที่ดิน (Soil mapping unit, SMU) แต่ละ SMU จะมีรูปร่างและขนาดเท่าใดขึ้นอยู่กับ มาตราส่วน และวัตถุประสงค์ของการสำรวจและทำแผนที่ดิน สำหรับแต่ละ SMUจะเรียกชื่ออย่างไรขึ้นอยู่กับระบบการจำแนกและอนุกรมวิธาน ของดินที่เลือกใช้
         การจำแนกดิน   (Soil classification) อย่างเป็นระบบจึงเป็น สิ่งจำเป็นเพื่อสร้างองค์ความรู้ทางด้านทรัพยากรธรรมชาติของ ประเทศไทย ผลการจำแนกดินสามารถนําไปใช้ ถ่ายทอดความรู้หรือนําเทคโนโลยีใหม่ๆ ในระบบเครือข่ายจากพื้นที่หนึ่งไปสู่อีกพื้นที่หนึ่ง หรือจากประเทศหนึ่งไปสู่ อีกประเทศหนึ่งที่ใช้ ระบบการจําแนกดินเดียวกันได้อย่างเป็นระบบ จึงเป็นการประหยัดเวลาและค่าใช้ จ่ายในการพัฒนาการเกษตร