เกี่ยวกับชุดดินจัดตั้ง
 
 ความหมายของชุดดินจัดตั้ง
 ชุดดินจัดตั้งในประเทศไทย
 
ภาคเหนือ
ภาคกลาง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคใต้
  การจำแนกดินในประเทศไทย
 
 ทำไมต้องมีการจำแนกดิน
 วิธีการจำแนกดิน
   
  อนุกรมวิธานดินในประเทศไทย
 
 
อันดับดิน
 
อันดับย่อย
   
กลุ่มดินใหญ่
     
กลุ่มดินย่อย
       
วงศ์ดิน
 
 สืบค้นอนุกรมวิธานดิน
     
  สมบัติชุดดิน
 
 สมบัติทั่วไปของโปรไฟล์ดิน
 สมบัติของแต่ละชั้นดิน
   
  ระดับความเหมาะสม
 
 ทางการเกษตร
 ทางวิศวกรรม
   
  งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับชุดดิน 
   
  สารสนเทศกลุ่มชุดดิน
(WebGIS)
   
   
ชั้นดิน (Soil Horizon)
ชั้นดิน : เกิดขึ้นจากกระบวนการ เพิ่มเติม สูญเสีย คลุกเคล้า เคลื่อนย้าย
และ เปลี่ยนแปลง ของพลังงาน และวัสดุต่างๆที่เป็นองค์ประกอบของดิน
ดินชั้น O : เป็นชั้นดินอินทรียวัตถุที่พบในชุดดินบางประเภทเท่านั้น ดินชั้นนี้เป็นชั้นบนสุด เกิดจากการทับถมของเศษพืชที่ผุพังทับถม
ดินส่วนใหญ่ ประกอบด้วย ชั้นดินหลักดังต่อไปนี้ :
ดินชั้น A  :  เป็นดินชั้นแร่ธาตุที่อยู่บนสุดในดินทั่วไป มีการสะสมอินทรีย์คาร์บอนมากกว่า
ดินชั้นถัดลงไป
ดินชั้น B  : เป็นดินชั้นแร่ธาตุที่ มีการสะสมปริมาณ แร่ดินเหนียว เหล็ก อะลูมินัม หรือ ฮิวมัส มากกว่าดินชั้นอื่นอย่างเห็นได้ชัดเจน
ดินชั้น C  :  เป็นดินชั้นแร่ธาตุที่ยังไม่ได้รับผลกระทบจากกระบวนการต่างๆที่เกิดขึ้น
ในดินดังดินชั้นข้างบน ยกเว้นดินมีการเปลี่ยนแปลงจากการที่มีน้ำขังเป็นเวลานาน หรือมีการสะสมคาร์บอเนต และเกลือที่ละลายน้ำได้
  ดินแต่ละชั้นมีสมบัติทางเคมี และสมบัติทางฟิสิกส์แตกต่างกัน อันจะส่งผลถึงคุณภาพของดินในแง่การใช้ประโยชน์ด้านผลิตพืช ด้านวิศวกรรม และความยากง่ายในการฟิ้นฟูสิ่งแวดล้อมแตกต่างกันไป

ค้นหาสมบัติของชุดดินในแต่ละชั้นดิน
ชื่อชุดดิน 
สมบัติของดิน