Reserved: องค์ประกอบที่ 1   ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดำเนินการ

 

 

ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน (ปีงบประมาณ)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           กระบวนการ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้          :          

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรมีพันธกิจหลัก คือ การวิจัย การบริการทางวิชาการแก่สังคม และการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม แต่ในขณะเดียวกัน ศูนย์ฯ ก็ได้มีการสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน โดยได้สนับสนุนคณะเกษตรศาสตร์ในการเปิดหลักสูตรนานาชาติสาขาเกษตรศาสตร์เชิงระบบ ในการดำเนินพันธกิจเหล่านี้  ศูนย์ฯ มีการกำหนดทิศทางการพัฒนาและการดำเนินงานของศูนย์ฯ เพื่อให้ศูนย์ฯดำเนินการสอดคล้องกับอัตลักษณ์หรือจุดเน้นซึ่งคือการวิจัย บริการวิชาการ และสนับสนุนการเรียนการสอนด้านเกษตรศาสตร์เชิงระบบ มีคุณภาพ มีความเป็นสากล และเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน ดังนั้น ศุนย์ได้กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ตลอดจนมีการพัฒนาแผนกลยุทธ์และแผนดำเนินงานเพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานของศูนย์ฯ โดยได้ดำเนินการร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์อย่างใกล้ชิด

ในการพัฒนาแผนกลยุทธ์ นอกเหนือจากการพิจารณาอัตลักษณ์หรือจุดเน้นของศูนย์ฯ แล้ว จะต้องคำนึงถึงหลักการอุดมศึกษา กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์ด้านต่างๆ ของชาติ รวมถึงทิศทางการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลก ทั้งนี้ เพื่อให้การดำเนินงานของสถาบันเป็นไปอย่างมีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับ และสามารถตอบสนองสังคมในทิศทางที่ถูกต้องเหมาะสม

 

ผลการดำเนินงาน       :        

 

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานโดยสรุป

หลักฐาน (electronic)

1. มีการจัดทำแผนกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับนโยบายของสภาสถาบัน โดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรในสถาบัน และได้รับความเห็นชอบจากสภาสถาบัน โดยเป็นแผนที่เชื่อมโยงกับปรัชญาหรือปณิธานและพระราชบัญญัติสถาบัน  ตลอดจนสอดคล้องกับจุดเน้นของกลุ่มสถาบัน กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565) และแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2551-2554)

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรมีการจัดทำแผนกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ และนโยบายของคณะเกษตรศาสตร์ โดยให้สอดคล้องกับปรัชญา หรือ ปณิธานของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และแผนอุดมศึกษาระยะยาว หัวหน้าศูนย์ฯ เป็นกรรมการร่วมจัดทำแผนกลยุทธ์ เพื่อนำคณะเกษตรศาสตร์ไปสู่ความสำเร็จที่พึงประสงค์ ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และวัตถุประสงค์ ได้ร่วมพิจารณาจุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม ของคณะเกษตรศาสตร์ เพื่อนำไปสู่การกำหนดกลยุทธ์ที่ชัดเจนและครอบคลุมทุกภารกิจของคณะฯ อันได้แก่ การเรียนการสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการแก่สังคม และการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ส่วนวิสัยทัศน์ พันธกิจ จุดอ่อน และจุดแข็งของศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรได้มีการจัดทำในปี2553 โดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรในศูนย์ฯ โดยให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และแผนกลยุทธ์ที่คณะเกษตรศาสตร์กำหนด

1.1.1.1 เว็บไซต์เผยแพร่วิสัยทัศน์

1.1.1.2 กรรมการบริหาร ศวพก.

1.1.1.3 รายงานการประชุมกรรมการบริหารศูนย์วิจัยฯ

1.1.1.4-1 การประชุมวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ ศวพก. ปี2552

1.1.1.4-2 รายงานการระดมสมองพิจารณาจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภัยคุกคาม ศวพก.

1.1.1.5 แผนกลยุทธปี 2550-54 ของ ศวพก (1  2)

1.1.1.6 แผนปฏิบัติการปี 2553

1.1.1.7 แผนปฏิบัติการปี 2554

1.1.1.8 แผนปฏิบัติงานสรุป ปี 2554

2.      มีการถ่ายทอดแผนกลยุทธ์ระดับสถาบันไปสู่ทุกหน่วยงานภายใน

 

คณะเกษตรศาสตร์ได้มีการชี้แจงทำความเข้าใจกับผู้บริหารศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร ถึงวิสัยทัศน์ กลยุทธ์และเป้าหมายของกลยุทธ์ และมีการกำหนดหน่วยงานภายในรับผิดชอบดำเนินงานตามแผนกลยุทธ์อย่างเป็นทางการ

 

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์มีการกำหนดเป้าหมายในการดำเนินงานตามแผนกลยุทธ์ของแต่ละหน่วยงานภายในและมีการมอบหมายอย่างเป็นทางการ

 

3. มีกระบวนการแปลงแผนกลยุทธ์เป็นแผนปฏิบัติการประจำปีครบ 4 พันธกิจ คือ ด้านการเรียนการสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการ และการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

 

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์มีการจัดทำแผนที่กลยุทธ์ (Strategic map) เพื่อช่วยในการแปลงแผนกลยุทธ์ไปสู่แผนปฎิบัติการตามกระบวนการของ Balanced scorecard

1.1.3.1  แผนกลยุทธคณะเกษตรศาสตร์

1.1.3.2 แผนปฏิบัติการประจำปี 2553 ของ ศวพก

1.1.3.3 แผนปฏิบัติการประจำปี 2554 ของ ศวพก

 

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์มีการจัดทำรายงานผลการวิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างแผนกลยุทธ์กับแผนปฏิบัติการประจำปีทั้ง 4 พันธกิจ คือ ด้านการเรียนการสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการ และการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

 

4. มีตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการประจำปี และค่าเป้าหมายของแต่ละตัวบ่งชี้ เพื่อวัดความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจำปี

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์ได้มีการจัดทำตัวบ่งชี้ (KPI) พร้อมทั้งเป้าหมาย (target) ของแต่ละตัวบ่งชี้ที่จะใช้วัดความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการประจำปี ทั้งนี้ ได้จัดทำพร้อมกับการจัดทำแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการประจำปี

1.1.4.1 ตัวบ่งชี้ และเป้าหมายตามแผนกลยุทธ และ แผนปฏิบัติการประจำปี

1.1.4.2 การประเมินจุดอ่อนจุดแข็ง

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์มีกระบวนการส่งเสริมให้ผู้บริหาร อาจารย์และเจ้าหน้าที่ผู้ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการตามตัวบ่งชี้เข้ามีส่วนร่วมในการจัดทำตัวบ่งชี้และค่าเป้าหมาย เพื่อให้เกิดการยอมรับของทุกฝ่าย อันจะนำไปสู่ความร่วมมือร่วมใจกันปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่ได้กำหนดร่วมกัน

5.  มีการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีครบ 4 พันธกิจ

 

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์มีการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติงานทั้ง 4 พันธกิจ

1.1.5.1 รายงานผลการดำเนินงาน ศวพก.

6.  มีการติดตามผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนปฏิบัติการประจำปี อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง และรายงานผลต่อผู้บริหารเพื่อพิจารณา

 

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์มีการติดตามผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนปฏิบัติการประจำปี อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง และรายงานผลต่อผู้บริหารคณะเกษตรศาสตร์เพื่อพิจารณา

1.1.6.1 รายงานการติดตามประเมินผลงานตามตัวบ่งชี้ของแผนปฏิบัติการ

1.1.6.2 เอกสารติดตามผลการดำเนินงานตามแผน ศวพก.

1.1.6.3 เอกสารติดตามผลการดำเนินงานตามแผนหลักสูตร

7.      มีการประเมินผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และรายงานผลต่อผู้บริหารและสภาสถาบันเพื่อพิจารณา

 

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์มีการประเมินผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ ปีละ 2 ครั้ง และรายงานผลต่อผู้บริหารเพื่อพิจารณา

1.1.7.1 รายงานการประชุมกรรมการคณะ และกรรมการประกันคุณภาพประเมินผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ

8.      มีการนำผลการพิจารณา ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะของสภาสถาบันไปปรับปรุงแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจำปี

 

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์มีการนำผลการพิจารณา ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะของสภามหาวิทยาลัยไปปรับปรุงแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจำปี

1.1.8.1 รายงานการประชุมกรรมการคณะ (1)

1.1.8.2 รายงานการประชุมกรรมการคณะ (2)

 

 

 

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ

1 ข้อ

มีการดำเนินการ

2 หรือ 3   ข้อ

มีการดำเนินการ  4 หรือ 5 ข้อ

มีการดำเนินการ

6 หรือ 7 ข้อ

มีการดำเนินการ 8  ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

7 ข้อ

8 ข้อ

þ

5

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

รศ.ดร.เบญจพรรณ เอกะสิงห์ โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 241

 

 

ตัวบ่งชี้ที่ 1.2(สมศ16)  ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจและวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถาบัน (ปีการศึกษา)

(ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           ผลลัพธ์ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้          :          

ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ หมายถึง ตัวบ่งชี้ที่ประเมินผลผลิตตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา รวมถึงความสำเร็จตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละสถานศึกษา โดยได้รับการอนุมัติจากสภาสถาบันและต้นสังกัด

 

ผลการดำเนินงาน       :        

 

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานโดยสรุป

หลักฐาน (electronic)

1. มีการกำหนดกลยุทธ์การปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ ปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษา โดยได้รับความเห็นชอบจากสภาสถาบัน

 

 

2. มีการสร้างระบบการมีส่วนร่วมของผู้เรียนและบุคลากรในการปฏิบัติตามกลยุทธ์ที่กำหนดอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ และบุคลากรไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง

 

 

3. มีการประเมินความพึงพอใจของประชาคมในสถาบันอุดมศึกษา โดยอยู่ในระดับดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

 

 

4. ผลการดำเนินงานบรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษา และเกิดผลกระทบที่เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อสังคม

 

 

5. ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่สะท้อนถึงอัตลักษณ์ ปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาจนเป็นที่ยอมรับในระดับชาติหรือนานาชาติ

 

 

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

ปฏิบัติได้

1 ข้อ

ปฏิบัติได้

2 ข้อ

ปฏิบัติได้

3 ข้อ

ปฏิบัติได้

4 ข้อ

ปฏิบัติได้

5 ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

7 ข้อ

0 ข้อ

ý

 

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

จุฑามาศ  อ่อนประไพ

โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 239

 

 

ตัวบ่งชี้ที่ 1.3(สมศ17)  ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถาบัน (ปีการศึกษา)

(ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           ผลลัพธ์ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้          :          

ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ หมายถึง ตัวบ่งชี้ที่ประเมินผลผลิตตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา รวมถึงความสำเร็จตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละสถานศึกษา โดยได้รับการอนุมัติจากสภาสถาบันและต้นสังกัด

 

ผลการดำเนินงาน       :        

 

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานโดยสรุป

หลักฐาน (electronic)

1. มีการกำหนดกลยุทธ์การปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับจุดเน้น จุดเด่น หรือ ความเชี่ยวชาญเฉพาะของสถาบัน โดยได้รับความเห็นชอบจากสภา สถาบัน

 

 

2. มีการสร้างระบบการมีส่วนร่วมของผู้เรียนและบุคลากรในการปฏิบัติ ตามกลยุทธ์ที่กําหนดอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ และบุคลากรไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง

 

 

3. มีการประเมินความพึงพอใจของประชาคมในสถาบันอุดมศึกษา โดยอยู่ในระดับดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

 

 

4. ผลการดำเนินงานบรรลุตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะ ของสถาบัน และเกิดผลกระทบที่เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อสังคม

 

 

5. สถาบันมีเอกลักษณ์ตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะที่ กำหนด และได้รับการยอมรับในระดับชาติหรือนานาชาติ

 

 

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

ปฏิบัติได้

1 ข้อ

ปฏิบัติได้

2 ข้อ

ปฏิบัติได้

3 ข้อ

ปฏิบัติได้

4 ข้อ

ปฏิบัติได้

5 ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

 

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

7 ข้อ

0 ข้อ

ý

 

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

จุฑามาศ  อ่อนประไพ

โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 239

 

 

Reserved: องค์ประกอบที่ 2    การผลิตบัณฑิต

 

 

ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           กระบวนการ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้          :          

สถาบันอุดมศึกษามีหน้าที่พัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจและความพร้อมของสถาบัน ตลอดจนสอดคล้องกับความต้องการทางด้านวิชาการและวิชาชีพของสังคม มีการประเมินหลักสูตรอย่างสม่ำเสมอตามหลักเกณฑ์และตัวบ่งชี้ของการประกันคุณภาพหลักสูตร มีการวางระบบและกลไกบริหารหลักสูตรอย่างมีประสิทธิภาพและมีการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง

 

ผลการดำเนินงาน       :        

 

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานโดยสรุป

หลักฐาน (electronic)

1. มีระบบและกลไกการเปิดหลักสูตรใหม่และปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กำหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา และดำเนินการตามระบบที่กำหนด

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร ได้มีการดำเนินการสนับสนุนการเรียนการสอน โดยมีการเปิดหลักสูตรบัณฑิตศึกษาเกษตรศาสตร์เชิงระบบ ซึ่งมีขั้นตอนในการดำเนินการปรับปรุงหลักสูตร ดังนี้

1.       เสนอแต่งตั้งคณะกรรมการหลักสูตรปรับปรุง โดยมี ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ในสาขาวิชานั้นๆ เป็นกรรมการร่วม

2.       พิจารณาการปรับปรุงหลักสูตร โดยคณะกรรมการเรียบร้อย แล้วนำเสนอกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อพิจารณาให้ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ

3.       คณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ เสนอร่างหลักสูตรฯ ให้งานบริการการศึกษาเพื่อดำเนินการตามขั้นตอน ดังนี้

-           ระดับบัณฑิตศึกษา

-           เสนอกรรมการบัณฑิตศึกษาประจำคณะพิจารณารายละเอียดและให้ความเห็นชอบ

-          เสนอบัณฑิตวิทยาลัยพิจารณาให้ความเห็นชอบ

บัณฑิตวิทยาลัยเสนอมหาวิทยาลัยพิจารณาดำเนินการต่อไป

2.1.1.1 คำสั่ง แต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร (1 2)

2.1.1.2 จดหมายเชิญผู้ทรงคุณวุฒิเป็นกรรมการ

2.1.1.3 จดหมายตอบรับจากผู้ทรงคุณวุฒิ

2.1.1.4 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตร

2.1.1.5 กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับประเทศ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2.  มีระบบและกลไกการปิดหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กำหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา และดำเนินการตามระบบที่กำหนด

คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาสาขาเกษตรศาสตร์เชิงระบบ ได้ดำเนินการเสนอปิดหลักสูตร วท.ม. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์เชิงระบบ แผน ก แบบ ก 2 ภาคปกติ หลักสูตรภาษาไทย เนื่องจาก มีผู้สมัครเรียนน้อย โดยเสนอผ่านคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจำสาขาวิชา และคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจำคณะ

2.1.2.1 บันทึกเสนอปิดหลักสูตร

2.1.2.2 ระบบ กลไก การเปิด ปิดหลักสูตร

 

 

3. ทุกหลักสูตรมีการดำเนินงานให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (การดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ หมายถึง ต้องมีการประเมินผลตามตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานตามประกาศมาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรือสาขาวิชา เพื่อการประกันคุณภาพหลักสูตรและการเรียนการสอน กรณีที่หลักสูตรใดยังไม่มีประกาศมาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรือสาขาวิชา ให้ประเมินตามตัวบ่งชี้กลางที่กำหนดในภาคผนวก ก)  สำหรับหลักสูตรสาขาวิชาชีพต้องได้รับการรับรองหลักสูตรจากสภาหรือองค์กรวิชาชีพที่เกี่ยวข้องด้วย

คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาสาขาเกษตรศาสตร์เชิงระบบ มีการดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ  พ.ศ.2552 (TQF) จำนวน 1 หลักสูตร คือ วท.ม. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์เชิงระบบ แผน ก แบบ ก 2

2.1.3.1 หลักสูตรปรับปรุง ฉบับ พ.ศ. 2555

4. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกำกับให้มีการดำเนินการได้ครบถ้วนทั้งข้อ 1 ข้อ 2 และข้อ 3 ข้างต้นตลอดเวลาที่จัดการศึกษา และมีการประเมินหลักสูตรทุกหลักสูตรอย่างน้อยตามกรอบเวลาที่กำหนดในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรฯ  กรณีหลักสูตรที่ดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ จะต้องควบคุมกำกับให้การดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ในข้อ 3 ผ่านเกณฑ์การประเมิน 5 ข้อแรกและอย่างน้อยร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ที่กำหนดในแต่ละปี ทุกหลักสูตร

คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาสาขาเกษตรศาสตร์เชิงระบบกำลังดำเนินการปรับปรุงหลักสูตร วท.ม. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์เชิงระบบ แผน ก แบบ ก 2 ให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ  พ.ศ.2552 (TQF)

2.1.4.1 หลักสูตรปรับปรุง ฉบับ พ.ศ. 2555

5. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกำกับให้มีการดำเนินการได้ครบถ้วนทั้งข้อ 1 ข้อ 2 และข้อ 3 ข้างต้นตลอดเวลาที่จัดการศึกษา และมีการพัฒนาหลักสูตรทุกหลักสูตรตามผลการประเมินในข้อ 4 กรณีหลักสูตรที่ดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ จะต้องควบคุมกำกับให้การดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ในข้อ 3 ผ่านเกณฑ์การประเมินครบ ทุกตัวบ่งชี้และทุกหลักสูตร

มีการแต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรในระดับปริญญาโทและปริญญาเอก เพื่อให้การจัดการศึกษาเป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ  พ.ศ.2552 (TQF)

2.1.5.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก

6. หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เน้นการวิจัยที่เปิดสอน (ปริญญาโท เฉพาะแผน ก และปริญญาเอก) มีจำนวนมากกว่าร้อยละ 50 ของจำนวนหลักสูตรทั้งหมดทุกระดับการศึกษา (เฉพาะกลุ่ม ค1 และ ง)

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรมีการสนับสนุนการเปิดหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เน้นการวิจัย ระดับปริญญาโท แผน ก แบบ ก 2 ในภาคภาษาไทย และภาษาอังกฤษ (หลักสูตรนานาชาติ)  จำนวน 2 หลักสูตร และ ปริญญาเอก จำนวน 1 หลักสูตร รวมทั้งหมด 3 หลักสูตร คิดเป็นร้อยละ 100 ของหลักสูตร

2.1.6.1 หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาเกษตรศาสตร์เชิงระบบ

2.1.6.2 หลักสูตรวิทยาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตสาขาเกษตรศาสตร์เชิงระบบ

7. หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เน้นการวิจัยที่เปิดสอน (ปริญญาโท เฉพาะแผน ก และปริญญาเอก) มีจำนวนนักศึกษาที่ศึกษาอยู่ในหลักสูตรมากกว่าร้อยละ 30 ของจำนวนนักศึกษาทั้งหมดทุกระดับการศึกษา (เฉพาะกลุ่ม ค1 และ ง)

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา โดยมีหลักสูตรปริญญาโท จำนวน 2 หลักสูตร และปริญญาเอก จำนวน 1 หลักสูตร มีนักศึกษารวมทั้ง 3 หลักสูตร  จำนวน 18 คน

2.1.7.1 รายชื่อนักศึกษาระดับปริญญาโท

2.1.7.2 รายชื่อนักศึกษาระดับปริญญาเอก

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ

1 ข้อ

มีการดำเนินการ

2   ข้อ

มีการดำเนินการ  3 ข้อ

มีการดำเนินการ

4 ข้อ

มีการดำเนินการ ครบ 7 ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

 

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

6 ข้อ

7

þ บรรลุเป้าหมาย

5

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

จุฑามาศ  อ่อนประไพ

โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 239

 

 

ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 อาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           ปัจจัยนำเข้า 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้        :          

การศึกษาระดับอุดมศึกษาถือเป็นการศึกษาระดับสูงสุดที่ต้องการบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถและความลุ่มลึกทางวิชาการ เพื่อปฏิบัติพันธกิจสำคัญของสถาบันในการผลิตบัณฑิต ศึกษาวิจัยเพื่อการติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและการพัฒนาองค์ความรู้ ดังนั้น สถาบันจึงควรมีอาจารย์ที่มีระดับคุณวุฒิทางการศึกษาในสัดส่วนที่เหมาะสมกับพันธกิจหรือจุดเน้นของสถาบัน

 

สูตรการคำนวณ         :  

 

ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก  =

จำนวนอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

X 100

จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมด

 

เกณฑ์การประเมิน      : 

 

คะแนนที่ได้  =

ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

X 5

60

กรณีร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 60 คะแนนที่ได้  = 5

 

     หรือ

คะแนนที่ได้  =

ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา

X 5

12

กรณีค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา 12 คะแนนที่ได้  = 5

 

ผลการดำเนินงานและข้อมูลพื้นฐานในอดีตและปัจจุบัน         :

 

ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก  =

11

X 100

= 80.88%

11

 

คะแนนประเมินตนเอง :

 

คะแนนที่ได้  =

100

X 5

= 5

60

กรณีร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 60 คะแนนที่ได้  = 5

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

 

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

100 %

100 %

þ

5

 

 

ข้อมูล/เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง (ใช้กับตัวบ่งชี้ 2.2 ตัวบ่งชี้ 2.3 และตัวบ่งชี้ 4.3)

2.2.1    รายละเอียดจำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมด

(จำนวนอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 11 คน)

(ทำไฟล์แนบหรือพัฒนาระบบ AG-MIS ให้ครบถ้วน ตามรอบปีและวิธีการนับจำนวนคน)

ลำดับ

ที่

สังกัด

ภาควิชา

รายชื่ออาจารย์

(ทั้งหมด)

คุณวุฒิ

(ป.เอก/โท/ตรี)

ตำแหน่งทางวิชาการ
(อ./ผศ./รศ./ศ.)

หมายเหตุ

 (ใส่รหัส)

1

เศรษฐศาสตร์เกษตรและส่งเสริมเผยแพร่เกษตร

เบญจพรรณ เอกะสิงห์

ป.เอก

รศ.

1

2

พืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ

อรรถชัย จินตะเวช

ป.เอก

รศ.

1

3

พืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ

ชาญชัย แสงชโยสวัสดิ์

ป.เอก

ผศ.

1

4

พืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ

ธวัชชัย รัตนชเลศ

ป.เอก

รศ.

1

5

พืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ

ศักดิ์ดา จงแก้ววัฒนา

ป.เอก

รศ.

1

6

เศรษฐศาสตร์เกษตรและส่งเสริมเผยแพร่เกษตร

อารี วิบูลย์พงศ์

ป.เอก

ศ.

1

7

เศรษฐศาสตร์เกษตรและส่งเสริมเผยแพร่เกษตร

เยาวเรศ เชาวนพูนผล

ป.เอก

ผศ.

1

8

เศรษฐศาสตร์เกษตรและส่งเสริมเผยแพร่เกษตร

กมล งามสมสุข

ป.เอก

ผศ.

1

9

เศรษฐศาสตร์เกษตรและส่งเสริมเผยแพร่เกษตร

จิรวรรณ กิจชัยเจริญ

ป.เอก

อ.

1

10

เศรษฐศาสตร์เกษตรและส่งเสริมเผยแพร่เกษตร

บุศรา ลิ้มนิรันดร์กุล

ป.เอก

อ.

1

11

พืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ

ถาวร อ่อนประไพ

ป.เอก

ผศ.

1

 

 การนับจำนวนอาจารย์สำหรับปีการศึกษา 2553 (1 มิ.ย 2553 - 31 พ.ค 2554)

 

 

รหัส

การนับเวลาการทำงาน

การนับจำนวนรวม

ทั้งหมด

การนับจำนวนที่ปฎิบัติงานจริง

 

บรรจุ/รายงานตัวระหว่าง

ระยะเวลาทำงาน

การนับจำนวน

จำนวนรวม

 

1

1 มิ. 53 – 1 . 53

9 – 12 เดือน

11

11 คน

11

 

.5

2 . 53 – 1 . 53

6 – <9 เดือน

0

0 คน

0

 

0

2 . 53 – 31 . 54

<6 เดือน

0

0 คน

0

 

0

ลาศึกษาต่อ

0

0

0 คน

0

 

รวม

11

 

11

 

 

 

หมายเหตุ :

1. คุณวุฒิปริญญาเอกพิจารณาจากระดับคุณวุฒิที่ได้รับหรือเทียบเท่าตามหลักเกณฑ์การพิจารณาคุณวุฒิของกระทรวงศึกษาธิการกรณีที่มีการปรับวุฒิการศึกษาให้มีหลักฐานการสำเร็จการศึกษาภายในรอบปีการศึกษานั้นทั้งนี้อาจใช้คุณวุฒิอื่นแทนคุณวุฒิปริญญาเอกได้สำหรับกรณีที่บางสาขาวิชาชีพมีคุณวุฒิอื่นที่เหมาะสมกว่าทั้งนี้ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการอุดมศึกษา

2. การนับจำนวนอาจารย์ประจำให้นับตามปีการศึกษาและนับทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

จุฑามาศ  อ่อนประไพ

โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 239

 

ตัวบ่งชี้ที่ 2.3  อาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           ปัจจัยนำเข้า 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้        :          

สถาบันอุดมศึกษาถือเป็นขุมปัญญาของประเทศ และมีความรับผิดชอบที่จะต้องส่งเสริมให้อาจารย์ในสถาบันทำการศึกษาวิจัยเพื่อแสวงหาและพัฒนาองค์ความรู้ในศาสตร์สาขาวิชาต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อนำไปใช้ในการเรียนการสอน รวมทั้งการแก้ไขปัญหาและพัฒนาประเทศ การดำรงตำแหน่งทางวิชาการเป็นสิ่งสะท้อนการปฏิบัติงานดังกล่าวของอาจารย์ตามพันธกิจของสถาบัน

 

สูตรการคำนวณ         :  

 

ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ  =

จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่ง

ทางวิชาการ (รศ.+ศ.)

X 100

จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมด

 

เกณฑ์การประเมิน      : 

 

คะแนนที่ได้  =

ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ

X 5

30

กรณีร้อยละของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 30 คะแนนที่ได้  = 5

 

    หรือ                     

 

คะแนนที่ได้  =

ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ

เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา

X 5

6

กรณีค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา 6 คะแนนที่ได้  = 5

 

ผลการดำเนินงานและข้อมูลพื้นฐานในอดีตและปัจจุบัน         :

 

ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ =

5

X 100

= 45.45 %

11

 

คะแนนประเมินตนเอง :

 

คะแนนที่ได้  =

45.45

X 5

= 5

30

กรณีร้อยละของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 30 คะแนนที่ได้  = 5

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

 

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

40%

42.65%

þ

5

 

 

 

 

ข้อมูล/เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง

2.2.1    รายละเอียดจำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมด (อ้างอิงตามตัวบ่งชี้ 2.2)

 

 

ข้อมูล/เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง

2.2.1    รายละเอียดจำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมด (อ้างอิงตามตัวบ่งชี้ 2.2)

(จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ( รศ. + ศ. ) 5 คน)

(ทำไฟล์แนบหรือพัฒนาระบบ AG-MIS ให้ครบถ้วน ตามรอบปีและวิธีการนับจำนวนคน)

ลำดับ

ที่

สังกัด

ภาควิชา

รายชื่ออาจารย์

(ทั้งหมด)

คุณวุฒิ

(ป.เอก/โท/ตรี)

ตำแหน่งทางวิชาการ
(อ./ผศ./รศ./ศ.)

หมายเหตุ

 (ใส่รหัส)

1

เศรษฐศาสตร์เกษตรและส่งเสริมเผยแพร่เกษตร

เบญจพรรณ เอกะสิงห์

ป.เอก

รศ.

1

2

พืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ

อรรถชัย จินตะเวช

ป.เอก

รศ.

1

3

พืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ

ธวัชชัย รัตนชเลศ

ป.เอก

รศ.

1

4

พืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ

ศักดิ์ดา จงแก้ววัฒนา

ป.เอก

รศ.

1

5

เศรษฐศาสตร์เกษตรและส่งเสริมเผยแพร่เกษตร

อารี วิบูลย์พงศ์

ป.เอก

ศ.

1

 

 การนับจำนวนอาจารย์สำหรับปีการศึกษา 2553 (1 มิ.ย 2553 - 31 พ.ค 2554)

รหัส

การนับเวลาการทำงาน

การนับจำนวนรวม

ทั้งหมด

การนับจำนวนที่ปฎิบัติงานจริง

บรรจุ/รายงานตัวระหว่าง

ระยะเวลาทำงาน

การนับจำนวน

จำนวนรวม

1

1 มิ. 53 – 1 . 53

9 – 12 เดือน

5

5 คน

5

.5

2 . 53 – 1 . 53

6 – <9 เดือน

0

0 คน

0

0

2 . 53 – 31 . 54

<6 เดือน

0

0 คน

0

0

ลาศึกษาต่อ

0

0

0 คน

0

รวม

5

 

5

 

 

หมายเหตุ : การนับจำนวนอาจารย์ประจำ ให้นับตามปีการศึกษาและนับทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

จุฑามาศ  อ่อนประไพ โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 239

 

ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสนับสนุน (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           กระบวนการ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้          :          

การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จำเป็นต้องมีการบริหารและพัฒนาคณาจารย์อย่างเหมาะสมทั้งในด้านเทคนิคการสอน การประเมินผลการเรียนรู้ และการใช้สื่อการสอนที่ทันสมัย รวมทั้งมีการปรับกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้ผลการเรียนรู้และข้อมูลจากความคิดเห็นของผู้เรียน นอกจากนั้น ยังจำเป็นต้องมีบุคลากรสายสนับสนุนที่มีคุณภาพสอดคล้องกับพันธกิจและเป้าหมายของสถาบัน

 

ผลการดำเนินงาน       :        

 

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานโดยสรุป

หลักฐาน (electronic)

1. มีแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์ทั้งด้านวิชาการ เทคนิคการสอนและการวัดผล และมีแผนการบริหารและพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงประจักษ์

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร ไม่มีข้าราชการในสังกัดตำแหน่งอาจารย์  แต่ได้รับความร่วมมือจากภาควิชาในคณะเกษตรศาสตร์ (เศรษฐศาสตร์เกษตรและส่งเสริมเผยแพร่เกษตร,พืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ ) สนับสนุนให้อาจารย์ในสังกัดจำนวน 11  คน  มาร่วมสอนในหลักสูตรทั้งในระดับปริญญาโท และปริญญาเอก

      ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร ได้แสวงหาทุนรวมทั้งจัดสรรเงินงบประมาณเงินรายได้ประจำปี เพื่อสนับสนุนให้บุคลากรในสังกัด ไปศึกษาต่อ ณ ต่างประเทศ  เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถและประสบการณ์  รวมทั้งมีการวางแผนเพื่อเพิ่มพูนศักยภาพและความรู้ของบุคลคลที่จะเข้ามาร่วมสนับสนุนการเรียนการสอนในหลักสูตรเกษตรศาสตร์เชิงระบบ   ดังนี้

       1.  ให้ทุนการศึกษาต่อระดับปริญญาเอก ณ ต่างประเทศ จำนวน  1 คน  แก่ นายเฉลิมพล สำราญพงษ์ นักวิชาการเกษตร ประจำ ศวพก. สาขา Resource Environment   The Australian National  University ประเทศออสเตรเลีย

 

2.4.1.1 แผนการบริหารหลักสูตร 5 ปี 2550-2554

2.4.1.2 แผนปฏิบัติการหลักสูตร 2554

2.4.1.3 รายชื่ออาจารย์ในหลักสูตรเกษตรศาสตร์เชิงระบบ

2.4.1.4 จดหมายแจ้งการให้ทุนศึกษา

2.4.1.5 สัญญาการให้ทุนศึกษา สกว.

2. มีการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนให้เป็นไปตามแผนที่กำหนด

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร มีการคัดเลือกบุคลากรเข้าทำงานอย่างเป็นระบบ โปร่งใส

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร ได้มีการอธิบายลักษณะงานให้ผู้ที่ได้รีบการคัดเลือกได้รับฟัง เพื่อให้เกิดความเข้าใจและมีคล่องตัวในการทำงาน สามารถทำงานได้ตรงตามหน้าที่รับผิดชอบ

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรทุกกลุ่ม เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากร

2.4.2.1 คำสั่งแต่งตั้งกรรมการบริหารหลักสูตรเกษตรศาสตร์เชิงระบบ

2.4.2.2 ประกาศรับสมัครงาน

2.4.2.3 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบคัดเลือก

2.4.2.4 คำอธิบายลักษณะงาน (1)  (2)

2.4.2.5 ระเบียบการประเมินผลการปฏิบัติงาน

2.4.2.6 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงาน

2.4.2.7 ผลการประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ 2553 (เมษายน – กันยายน 2553) และ ปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 – มีนาคม 2554)

 

 

3. มีสวัสดิการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี และสร้างขวัญและกำลังใจให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร ได้มีการจัดโครงการ 5 ส ศวพก. สะอาดตา เพื่อเป็นการสร้างบรรยายกาศในการทำงาน โดยการจัดสถานที่ทำงานให้สะอาดเรียบร้อย

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร มีการประชาสัมพันธ์ ข่าวการประกวดและ/หรือการให้รางวัล พร้อมทั้งอำนวยความสะดวกแก่คณาจารย์และบุคลากรในการส่งผลงานเข้าประกวด

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร ร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์ ประชาสัมพันธ์ผลงานที่ได้รับรางวัล โดยผ่านเว็บไซด์ของคณะ จดหมายข่าว และการแจ้งเวียนผ่าน e – office

2.4.3.1 โครงการ Big Cleaning day

2.4.3.2 ข่าวประชาสัมพันธ์

2.4.3.3 ประกาศผลการได้รับรางวัล

2.4.3.4 เว็บไซด์ คณะเกษตรศาสตร์

2.4.3.5 จดหมายข่าวคณะเกษตรศาสตร์

2.4.3.6 โครงการประชุมวิชาการ

2.4.3.7 จดหมายแจ้งเวียน เรื่อง โครงการพัฒนาบุคลากร “แอโรบิคเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ”

2.4.3.8 จดหมายเวียน เรื่องโครงการตรวจและพัฒนาสุขภาพประจำปี บุคลากร

2.4.3.9 รายชื่อนักกีฬาว่ายน้ำ

4. มีระบบการติดตามให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนนำความรู้และทักษะที่ได้จากการพัฒนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลการเรียนรู้ของนักศึกษา  ตลอดจนการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรและคณะเกษตรศาสตร์ มีการจัดอบรมและการประชาสัมพันธ์ข่าวการฝึกอบรม การสัมมนา ให้กับคณาจารย์เพื่อนำมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน

2.4.4.1 จดหมายแจ้งเวียน เรื่อง กลยุทธ์การจัดการเรียนรู้สู่อาจารย์มืออาชีพ

2.4.4.2 จดหมายแจ้งเวียน เรื่อง Classroom Action Research

5. มีการให้ความรู้ด้านจรรยาบรรณอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน และดูแลควบคุมให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนถือปฏิบัติ

มีการเผยแพร่ให้ความรู้ด้านจรรยาบรรณแก่อาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน และดูแลควบคุมให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนถือปฏิบัติ ซึ่งเป็นข้อบังคับของ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

2.4.5.1 ข้อบังคับด้านจรรยาบรรณ ม.เชียงใหม่ (1)   (2)

6. มีการประเมินผลความสำเร็จของแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสนับสนุน

มีการประเมินผลความสำเร็จของแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสนับสนุน ดำเนินการโดยคณะเกษตรศาสตร์

 

 

2.4.6.1 การประเมินผลสำเร็จของแผนหลักสูตร

2.4.6.2 จุดอ่อน จุดแข็ง 2554

7. มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน

มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ดำเนินการโดยคณะเกษตรศาสตร์

2.4.7.1 โครงการประสานความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษาและบุคลากร

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ

1  ข้อ

มีการดำเนินการ

2  ข้อ

มีการดำเนินการ  3 หรือ 4 ข้อ

มีการดำเนินการ

5  หรือ 6 ข้อ

มีการดำเนินการ  7  ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

 

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

6 ข้อ

7

þ บรรลุเป้าหมาย

5

 

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

จุฑามาศ  อ่อนประไพ

โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 239

 

ตัวบ่งชี้ที่ 2.5   ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           ปัจจัยนำเข้า

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้          :          

นอกเหนือจากการเรียนการสอน สถาบันอุดมศึกษาควรจัดบริการด้านกายภาพอย่างครบถ้วน โดยเฉพาะในเรื่องการบริการสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียน เช่น สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ห้องสมุดและแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ การบริการด้านงานทะเบียน การบริการนักศึกษานานาชาติ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังจำเป็นต้องมีสภาพแวดล้อมและการบริการด้านกายภาพที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของนักศึกษา เช่น สิ่งแวดล้อมในสถาบัน หอพักนักศึกษา ห้องเรียน สถานที่ออกกำลังกาย บริการอนามัย การจัดจำหน่ายอาหาร เป็นต้น

 

ผลการดำเนินงาน       :        

 

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงาน (โดยสรุปจากหลักฐาน)

หลักฐาน (electronic)

1. มีการจัดการหรือจัดบริการเพื่อให้นักศึกษามีเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้ในอัตราไม่สูงกว่า 8 FTES ต่อเครื่อง

มีเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้ในอัตรา …..(1) FTES (2) ต่อเครื่อง

2.5.1.1 รายละเอียด FTES (เฉพาะภาคการศึกษาที่ 1 และ 2 ปีการศึกษา 2553)

(ใช้ข้อมูลจากส่วนกลาง ดูได้จากเว็บ ประกันคณะฯ หัวข้อ>>เอกสารดาวน์โหลด)

2.5.1.2 รายละเอียดจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับนักศึกษา (3)

2. มีบริการห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และมีการฝึกอบรมการใช้งานแก่นักศึกษาทุกปีการศึกษา

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรมีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่สามารถเชื่อมต่อกับระบบการค้นคว้าออนไลน์ของห้องสมุดของมหาวิทยาลัยและของคณะได้ และจัดทำระบบสารสนเทศสนับสนุนการจัดการองค์ความรู้ด้านการเกษตรเผยแพร่บนเครือข่ายภายในของศวพก. โดยรวบรวมเว็บไซต์ของหน่วยงานและสถาบันวิจัยการเกษตรระดับนานาชาติ และบรรณานุกรมผลงานที่ตีพิมพ์ใน     วารสารระดับนานาชาติที่เกี่ยวกับงานวิจัยด้านระบบเกษตรและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติจำนวนมากกว่า 15,000 รายการ โดยผู้ใช้สามารถสืบค้นได้ตามชื่อผู้แต่ง หัวเรื่อง ปีตีพิมพ์ ชื่อ วารสารและคำค้น (Keyword) พร้อมทั้งบทความฉบับเต็ม (Full Text) มากกว่า 1,200 รายการ ระบบสารสนเทศดังกล่าวเป็นแนวทางใหม่ของการจัดการองค์ความรู้ขององค์กรสมัยใหม่ โดยอาศัยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศที่ช่วยให้ข้อมูลข่าวสารต่างๆ สามารถสื่อสารและเชื่อมโยงองค์ความรู้ได้อย่างเป็นระบบในรูปของเครือข่ายที่ทุกคนสามารถเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการได้ทุกเวลา (Any time) และทุกสถานที่ (Any where) 

2.5.2.1 รายละเอียดข้อมูลการบริการห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

2.5.2.2 เว็ปไซด์ ของศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

 

3. มีบริการด้านกายภาพที่เหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนานักศึกษา อย่างน้อยในด้านห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์การศึกษา และจุดเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตในระบบไร้สาย

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร มีห้องปฏิบัติการไมโครคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง และมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการสำหรับการสืบค้นข้อมูลการเรียนการสอนและการวิจัย โดยได้ติดตั้งระบบเครือข่ายที่เชื่อมโยงกับระบบของมหาวิทยาลัย และระบบเครือข่ายภายนอก (Internet) เพื่ออำนวยความสะดวกแก่นักศึกษาในการสืบค้นตำรา วารสาร และแหล่งสารนิเทศที่ทันสมัย นอกจากนั้นได้จัดให้มีห้องอ่านหนังสือ (Study pool) ให้นักศึกษาได้ใช้เป็นห้องทำงานในการศึกษาเพิ่มเติม การเขียนรายงานวิจัย และการทำวิทยานิพนธ์

ในส่วนของการพัฒนาระบบสารสนเทศสนับสนุนการค้นคว้าและวิจัย ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร ได้พัฒนาฐานข้อมูลรายงานการวิจัยระบบเกษตรและฐานข้อมูลสิ่งตีพิมพ์ เพื่อให้บริการแก่นักศึกษา ให้สามารถสืบค้นสารสนเทศทางด้านระบบเกษตรได้อย่างสะดวก รวดเร็วและได้รับสารสนเทศตรงกับความต้องการโดยผ่านระบบเครือข่าย โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้และกระตุ้นให้มีการเรียนรู้ตลอดเวลา

2.5.3.1 เว็ปไซด์ ของศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

4. มีบริการสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็นอื่นๆ อย่างน้อยในด้านงานทะเบียนนักศึกษาผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การบริการอนามัยและการรักษาพยาบาล การจัดการหรือจัดบริการด้านอาหาร และสนามกีฬา

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์ จัดบริการด้านสิ่งอำนวยความสะดวกให้กับนักศึกษา โดยผ่านระบบเครือข่าย คือ การลงทะเบียนเรียน ส่วนสถานที่บริการอนามัยและการออกกำลังกาย รวมทั้งร้านอาหาร นักศึกษาสามารถใช้บริการที่คณะ หรือตามสถานที่บริการนั้น ๆ ที่อยู่ภายในมหาวิทยาลัย

2.5.4.1 รายละเอียดข้อมูลการบริการสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็นอื่นๆ

 

5. มีระบบสาธารณูปโภคและรักษาความปลอดภัยของอาคารตลอดจนบริเวณโดยรอบ อย่างน้อยในเรื่องประปา ไฟฟ้า ระบบกำจัดของเสีย การจัดการขยะ รวมทั้งมีระบบและอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยในบริเวณอาคารต่างๆ โดยเป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์ ได้จัดระบบสาธารณูปโภคที่จำเป็นให้กับนักศึกษาได้ใช้บริการกันอย่างทั่วถึง สะอาด และปลอดภัย เช่น น้ำดื่มสะอาด บริเวณที่นั่งอ่านหนังสือ เก้าอี้นั่งพักผ่อน โดยมีการติดไฟส่องสว่างเพื่อความปลอดภัย

2.5.5.1 รายละเอียดข้อมูลระบบสาธารณูปโภค 

2.5.5.2 รายละเอียดข้อมูลระบบรักษาความปลอดภัยของศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

 

6. มีผลการประเมินคุณภาพของบริการในข้อ 2 – 5 ทุกข้อไม่ต่ำกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

 

 

7. มีการนำผลการประเมินคุณภาพในข้อ 6 มาใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาการจัดบริการด้านกายภาพที่สนองความต้องการของผู้รับบริการ

 

 

 

(1) สูตรการคำนวณ  =

FTES ทั้งหมด

จำนวนคอมพิวเตอร์สำหรับนักศึกษา

 

(2) FTES ทั้งหมด  =

(FTES ป.ตรี) + (2 x FTES บัณฑิตศึกษา)

    (ที่มา: คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปี 2552 ตัวบ่งชี้ 2.4)

 

(3) (ทำไฟล์แนบ)

 

ภาควิชา/หน่วยงาน

จำนวนคอมพิวเตอร์สำหรับนักศึกษา

 

 

 

 

 

 

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ

1  ข้อ

มีการดำเนินการ

2 หรือ 3 ข้อ

มีการดำเนินการ  4 หรือ 5 ข้อ

มีการดำเนินการ

6  ข้อ

มีการดำเนินการ

7 ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

 

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

5 ข้อ

5 ข้อ

þ บรรลุเป้าหมาย

3

 

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

จุฑามาศ  อ่อนประไพ

โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 239

 

ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           กระบวนการ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้          :          

สถาบันอุดมศึกษามีหน้าที่พัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจและความพร้อมของสถาบัน ตลอดจนสอดคล้องกับความต้องการทางด้านวิชาการและวิชาชีพของสังคม มีการประเมินหลักสูตรอย่างสม่ำเสมอตามหลักเกณฑ์และตัวบ่งชี้ของการประกันคุณภาพหลักสูตร มีการวางระบบและกลไกบริหารหลักสูตรอย่างมีประสิทธิภาพและมีการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง

 

ผลการดำเนินงาน       :        

 

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานโดยสรุป

หลักฐาน (electronic)

1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญทุกหลักสูตร

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร มีกระบวนวิชาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการจัดประชุม สัมมนา การศึกษาดูงาน รวมทั้งแหล่งข้อมูลออนไลน์ เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง

2.6.1.1 กระบวนวิชาสัมมนาในระดับบัณฑิตศึกษา

 

มีการสอนกระบวนวิชาสัมมนา เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้อภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้ ซึ่งกันและกัน โดยมีอาจารย์ควบคุมอย่างใกล้ชิด

2.6.1.2 คำอธิบายกระบวนวิชาสัมมนา AGS 366791 และ กำหนดการสัมมนา   

 

 

2. ทุกรายวิชามีรายละเอียดของรายวิชาและของประสบการณ์ภาคสนาม(ถ้ามี) ก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา ตามที่กำหนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำคำอธิบายรายวิชาและแผนการสอน ในปีการศึกษา 2553 นี้ มีจำนวน 15 กระบวนวิชา และได้ชี้แจงรายละเอียดกระบวนวิชาให้นักศึกษาทราบ ในวันแรกของการเรียนการสอน

2.6.2.1 เอกสารคำสอนรายวิชา

 

อาจารย์ผู้สอน ทำการประเมินผลการเรียนของนักศึกษาทั้งในระหว่างภาคเรียน และ เมื่อสิ้นสุดภาคเรียน

2.6.2.2 ผลการสอบประจำภาคเรียนที่ 1 และ ภาคเรียนที่ 2

 

 

3. ทุกหลักสูตรมีรายวิชาที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียนหรือจากการทำวิจัย

มีการจัดการเรียนการสอนที่นักศึกษาได้ปฏิบัติจริง โดยการศึกษาค้นคว้าจากแหล่งความรู้ต่างๆ เพื่อนำผลที่ได้ มาร่วมสัมมนา อภิปรายกลุ่ม และ/หรือ การไปศึกษาดูงานนอกสถานที่

2.6.3.1 ภาพการนำนักศึกษาดูงานนอกสถานที่

 

 

4. มีการให้ผู้มีประสบการณ์ทางวิชาการหรือวิชาชีพจากหน่วยงานหรือชุมชนภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอนทุกหลักสูตร

อาจารย์ผู้สอนได้เรียนเชิญบุคลากรภายนอกมาเป็นวิทยากร ในชั้นเรียน และ การนำนักศึกษาไปร่วมเข้าฝึกอบรมกับนักศึกษาต่างคณะ

2.6.4.1 จดหมายขอความอนุเคราะห์เข้าร่วมการฝึกอบรม เรื่อง "Computable General Equilubrium: Static, Dynamic and Stochastic"

5. มีการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาจากการวิจัย หรือจากกระบวนการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน

อาจารย์ผู้สอน ใช้ข้อมูลจากการประเมินอาจารย์ผู้สอนโดยนักศึกษา ทำการปรับปรุง พัฒนากระบวนการเรียนการสอนในกระบวนวิชาที่รับผิดชอบ

2.6.5.1 ข้อมูลการประเมินการเรียนการสอน

6. มีการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ทุกรายวิชา ทุกภาคการศึกษา โดยผลการประเมินความพึงพอใจแต่ละรายวิชาต้องไม่ต่ำกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

นักศึกษามีการประเมินคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ประจำวิชา รวมทั้งคุณภาพและความเหมาะสมอุปกรณ์สนับสนุนการสอน โดยการประเมินผ่านระบบออนไลน์ ทุกครั้งหลังจากที่เสร็จสิ้นการศึกษาในแต่ละภาคการศึกษา

2.6.6.1 http://mis.cmu.ac.th/cmumis/App_General/login.aspx

2.6.6.2 ผลการการประเมินการเรียนการสอน (1)  (2)

7. มีการพัฒนาหรือปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอนหรือการประเมินผลการเรียนรู้ ทุกรายวิชา ตามผลการประเมินรายวิชา

เมื่ออาจารย์ผู้สอนวัดผลและประเมินผลของกระบวนวิชาที่รับผิดชอบแล้ว ได้ทำการส่งข้อมูลให้กับคณะกรรมการบริหารหลักสูตรทราบ  เพื่อนำข้อมูลที่ได้รับมาทำการวางแผน ปรับปรุงหลักสูตรต่อไป 

2.6.7.1 รายงานการประชุมหลักสูตร ประจำปีการศึกษา 2553 ครั้งที่ 3 และ ครั้งที่ 4

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ

1 ข้อ

มีการดำเนินการ

2   ข้อ

มีการดำเนินการ  3 ข้อ

มีการดำเนินการ

4 ข้อ

มีการดำเนินการ ครบ 7 ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

6 ข้อ

7 ข้อ

þ บรรลุเป้าหมาย

5

 

 

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

จุฑามาศ  อ่อนประไพ โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 239

 

ตัวบ่งชี้ที่ 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           กระบวนการ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้          :          

คุณลักษณะของบัณฑิต หมายถึง คุณสมบัติที่พึงประสงค์ซึ่งผู้สำเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษาพึงมี ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ คุณลักษณะของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติของแต่ละหลักสูตร และคุณลักษณะของบัณฑิตตามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต คุณลักษณะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติมี 5 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้  ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ส่วนคุณลักษณะบัณฑิตตามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต อาจมีความแตกต่างกันตามลักษณะอาชีพหรือบริบทของผู้ใช้ และอาจปรากฏในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือที่มีลักษณะเพิ่มเติมจากกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ เช่น การบริหารจัดการ การเป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่เรียน การก้าวทันวิทยาการ ความสามารถในการประยุกต์ความรู้กับการปฏิบัติงานจริง สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา หรือผู้สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรที่เน้นการวิจัย ควรมีคุณลักษณะเพิ่มเติมด้านความเป็นนักวิชาการ การเป็นผู้นำทางความคิด โดยเฉพาะความสามารถด้านการคิดเชิงวิพากษ์  และการนำเสนอผลงาน

 

ผลการดำเนินงาน       :

                       

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานโดยสรุป

หลักฐาน (electronic)

1. มีการสำรวจคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตอย่างน้อยสำหรับทุกหลักสูตรระดับปริญญาตรี ทุกรอบระยะเวลาตามแผนกำหนดการศึกษาของหลักสูตร

เนื่องจากนักศึกษาของหลักสูตรเป็น นักศึกษาต่างชาติ การสำรวจบัณฑิตที่พึงประสงค์ ดำเนินการได้ยาก หลักสูตรฯ ไม่ได้ดำเนินการทุกปี แต่จะดำเนินการทุก 4-5 ปี

2.7.1.1 การประเมินหลักสูตรฯ ปี 2548

 

 

2. มีการนำผลจากข้อ 1 มาใช้ในการปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรียนที่ส่งเสริมทักษะอาชีพและคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ตามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต

คณะกรรมการบริหารหลักสูตร มีการประชุมเป็นประจำ เพื่อพัฒนา ปรับปรุง และแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น ของกิจกรรมการเรียนการสอน

 

2.7.2.1 รายงานการประชุมหลักสูตร

 

 

 

 

3. มีการส่งเสริมสนับสนุนทรัพยากรทั้งด้านบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ และงบประมาณที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิต

มีการส่งเสริม สนับสนุนทรัพยากรทั้งด้านบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ และงบประมาณที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิต หลักสูตรได้สนับสนุนทุนการศึกษาปริญญาเอกให้กับบุคลากร 2 คน

2.7.3.1 งบประมาณของหลักสูตร

4. มีระบบและกลไกการส่งเสริมให้นักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมการประชุมวิชาการหรือนำเสนอผลงานทางวิชาการในที่ประชุมระหว่างสถาบัน หรือที่ประชุมระดับชาติหรือนานาชาติ

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร มีการประชาสัมพันธ์การจัดประชุมวิชาการให้กับนักศึกษา โดยการติดบอร์ดประชาสัมพันธ์ และการแจ้งผ่านระบบออนไลน์

นักศึกษาที่ได้รับทุนสนับสนุนการศึกษาจาก สพร. ได้เข้าร่วมการประชุมวิชาการระดับชาติ เพื่อเผยแพร่ผลงานการวิจัย

หลักสูตรสาขาเกษตรศาสตร์เชิงระบบ กำหนดเงื่อนไขในการสำเร็จการศึกษาของนักศึกษา โดยต้องเข้าร่วมเสนอผลงานในการประชุมวิชาการระดับชาติ อย่างน้อย 1 ครั้ง

อาจารย์ผู้สอนเปิดโอกาสให้นักศึกษามีการนำเสนอผลงานภายในห้องเรียน เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมก่อนที่จะนำเสนอผลงานในที่ประชุมวิชาการต่าง ๆ

2.7.4.1 ข้อมูลการจัดประชุมวิชาการต่าง ๆ (1)   (2)

2.7.4.2 รายชื่อนักเรียนทุน

2.7.4.3 รายชื่อนักศึกษาและผลงานที่นำเสนอในการประชุมระดับชาติ  และ นักศึกษาที่นำเสนอผลงานในการประชุมวิชาการดินและปุ๋ยแห่งชาติครั้งที่ 2

 

 

 

5. มีกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมให้แก่นักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาที่จัดโดยส่วนงาน

หลักสูตร เกษตรศาสตร์เชิงระบบ ได้จัดโครงการส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม เพื่อให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมที่จัดขึ้น

2.7.5.1 เอกสารโครงการด้านส่งสริมกิจกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม และ วัฒนธรรม.

 

6. มีการพัฒนาทักษะนักศึกษาในการจัดทำบทความจากวิทยานิพนธ์และมีการนำไปตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ  (เฉพาะกลุ่ม ง)

มีกิจกรรมเสริมในกระบวนวิชา ที่เป็นการส่งเสริมให้นักศึกษาได้ทำการค้นคว้า ศึกษา บทความต่าง ๆ ทั้งภาคภาษาไทย และภาษาอังกฤษ เพื่อนำมาวิเคราะห์ และสังเคราะห์ ในชั้นเรียนร่วมกัน ซึ่งการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตร บางกระบวนวิชาจะเป็นการเรียนร่วมกันระหว่างนักศึกษาชาวไทยและนักศึกษาต่างชาติ

หลักสูตร เกษตรศาสตร์เชิงระบบ ได้สนับสนุนให้นักศึกษาได้ส่งบทความวิจัย เพื่อตีพิมพ์ในวาสารต่าง ๆ เช่น วารสารเกษตร

หลักสูตร เกษตรศาสตร์เชิงระบบ มีกระบวนวิชา ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาในหลักสูตรทั้งระดับปริญญาโทและปริญญาเอก เข้ารับฟังการสัมมนาร่วมกัน

2.7.6.1 กิจกรรมสัมมนาของนักศึกษา

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ

1 ข้อ

มีการดำเนินการ

2   ข้อ

มีการดำเนินการ  3 ข้อ

มีการดำเนินการ

4 ข้อ

มีการดำเนินการ ครบ 6 ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

6 ข้อ

6 ข้อ

þ บรรลุเป้าหมาย

5

 

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

จุฑามาศ  อ่อนประไพ

โทรศัพท์  053-94-4620 ต่อ 239

 

ตัวบ่งชี้ที่ 2.8           ระดับความสำเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมที่จัดให้กับนักศึกษา (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           ผลผลิต

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้        :

คุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาเป็นคุณลักษณะที่พึงประสงค์และเป็นปัจจัยสำคัญของคุณภาพบัณฑิตตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติและกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ รวมทั้งความคาดหวังของผู้ใช้บัณฑิตและสังคม ดังนั้น สถาบันจึงควรมีการวัดระดับความสำเร็จของการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมที่สถาบันจัดให้กับนักศึกษา

 

ผลการดำเนินงาน       :

 

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงาน (โดยสรุปจากหลักฐาน)

หลักฐาน (electronic)

1. มีการกำหนดพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษาที่ต้องการส่งเสริมไว้เป็นลายลักษณ์อักษร

หลักสูตรสาขาเกษตรศาสตร์เชิงระบบได้กำหนดคุณธรรมและจริยธรรมของนักศึกษาไว้ในกระบวนวิชาต่าง ๆ ของหลักสูตร

2. มีการถ่ายทอดหรือเผยแพร่พฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษาที่ต้องการส่งเสริมตามข้อ 1 ไปยังผู้บริหาร คณาจารย์ นักศึกษาและผู้เกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึงทั้งส่วนงาน

มีการถ่ายทอดหรือเผยแพร่พฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษาที่ต้องการส่งเสริมตามข้อ 1 ไปยังผู้บริหาร คณาจารย์ นักศึกษาและผู้เกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึงทั้งส่วนงาน ผ่านทาง e office

 

3. มีโครงการหรือกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมที่กำหนดในข้อ 1 โดยระบุตัวบ่งชี้และเป้าหมายวัดความสำเร็จที่ชัดเจน

มีโครงการ กิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้นักศึกษา

 

4. มีการประเมินผลโครงการหรือกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาตามตัวบ่งชี้และเป้าหมายที่กำหนดในข้อ 3 โดยมีผลการประเมินบรรลุเป้าหมายอย่างน้อยร้อยละ 90 ของตัวบ่งชี้

 

 

5. มีนักศึกษาหรือกิจกรรมที่เกี่ยวกับนักศึกษาได้รับการยกย่องชมเชย ประกาศเกียรติคุณด้านคุณธรรมจริยธรรม โดยหน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติ *

 

 

 

 *หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติ หมายถึง หน่วยงานราชการระดับกรมหรือเทียบเท่าขึ้นไป

หรือรัฐวิสาหกิจ หรือ องค์การมหาชน หรือ องค์กรกลางระดับชาติทั้งภาครัฐและเอกชน

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ

1  ข้อ

มีการดำเนินการ

2 ข้อ

มีการดำเนินการ  3 ข้อ

มีการดำเนินการ

4 ข้อ

มีการดำเนินการ

5 ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

4 ข้อ

3 ข้อ

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

3

 

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

จุฑามาศ  อ่อนประไพ

โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 239

 

 

ตัวบ่งชี้ที่ 2.9(สมศ1)  บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           ผลลัพธ์ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้          :          

บัณฑิตปริญญาตรีที่สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรภาคปกติ ภาคพิเศษ และภาคนอกเวลาในสาขานั้นๆ ที่ได้งานทำ หรือมีกิจการของตนเองที่มีรายได้ประจำ ภายในระยะเวลา ๑ ปีนับจากวันที่สำเร็จการศึกษา เมื่อเทียบกับบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษานั้น

การนับการมีงานทำ สามารถนับกรณีการทำงานสุจริตทุกประเภทที่สามารถสร้างรายได้เข้ามาประจำเพื่อเลี้ยงชีพตนเองได้ โดยการนับจำนวนผู้มีงานทำของผู้สำเร็จการศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในภาคพิเศษหรือภาคนอกเวลา ให้นับเฉพาะผู้ที่เปลี่ยนงานใหม่หลังสำเร็จการศึกษาเท่านั้น

 

สูตรการคำนวณ                   :

ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำฯ  =

จำนวนบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือ

ประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

X 100

จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจทั้งหมด

 

เกณฑ์การประเมิน      : 

 

คะแนนที่ได้  =

ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำฯ

X 5

100

กรณีร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำฯ =100 คะแนนที่ได้  = 5

 

ผลการดำเนินงานและข้อมูลพื้นฐานในอดีตและปัจจุบัน :

 

 

ข้อมูล/เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลางมหาวิทยาลัยเชียงใหม่)

            2.9.1 บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำฯ ปีการศึกษา 2553

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

รองคณบดีฝ่ายวิชาการ พัฒนาคุณภาพนักศึกษาและนักศึกษาเก่าสัมพันธ์
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

ปราณี  หะซัน /สุทธิณี  อินถา/เจตณวัฒน์  ฟูตั๋น

โทรศัพท์  053-94-4642

 

ตัวบ่งชี้ที่ 2.10(สมศ2)  คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โทและเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาแห่งชาติ (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           ผลลัพธ์ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้          :          

คุณภาพของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF: HEd. หรือ Thai Qualifications Framework for Higher Education) หมายถึง คุณลักษณะของบัณฑิตระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติที่ สกอ.ระบุ โดยเป็นคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามที่สถาบันกำหนด ครอบคลุมอย่างน้อย ๕ ด้าน คือ ๑) ด้านคุณธรรมจริยธรรม ๒) ด้านความรู้ ๓) ด้านทักษะทางปัญญา ๔) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และ ๕) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้ง TQF ตามสาขาวิชาชีพที่ประกาศใช้ ตลอดจนสอดคล้องกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ที่สภาหรือองค์กรวิชาชีพกำหนดเพิ่มเติม หรือสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต

กรณีที่เป็นวิชาชีพที่มีการเพิ่มเติมคุณลักษณะของบัณฑิตที่เพิ่มเติมจากกรอบมาตรฐานทั้ง ๕ ด้าน ต้องทำการประเมินครบทุกด้าน

 

สูตรการคำนวณ                   :

ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต =

ผลรวมของค่าคะแนนที่ได้จากการประเมินบัณฑิต

จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด

(คะแนนเต็ม 5)

 

ผลการดำเนินงานและข้อมูลพื้นฐานในอดีตและปัจจุบัน :

 

 

 

ข้อมูล/เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง (ใช้ข้อมูลจากส่วนกลางมหาวิทยาลัยเชียงใหม่)

            2.1 คะแนนที่ได้จากการประเมินบัณฑิต ตามกรอบ TQF ปี 2553

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

รองคณบดีฝ่ายวิชาการ พัฒนาคุณภาพนักศึกษาและนักศึกษาเก่าสัมพันธ์
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

ปราณี  หะซัน /สุทธิณี  อินถา/เจตณวัฒน์  ฟูตั๋น

โทรศัพท์  053-94-4642

 

ตัวบ่งชี้ที่ 2.11(สมศ3)  ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ (ปีปฏิทิน)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           ผลลัพธ์ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้        :        

ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่เป็นปัจจัยสำคัญของคุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่แสดงถึงความเป็นผู้นำทางความคิด ความสามารถด้านการคิดเชิงวิพากษ์ การนำเสนอผลงาน มีทักษะในการวิจัย ทักษะและภูมิปัญญาในฐานะนักวิชาการและนักวิชาชีพขั้นสูง

ผลงานผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท หมายถึง บทความวิจัยของวิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ที่ตีพิมพ์ หรือศิลปะนิพนธ์ที่เผยแพร่

การตีพิมพ์ หมายถึง การตีพิมพ์บทความจากวิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ ในวารสารวิชาการ (Journal) ในระดับชาติหรือนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลที่กำหนด รวมถึงบทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ (Full paper) ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติตามเงื่อนไขที่กำหนด

            บทความจากวิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ ที่ได้รับการตีพิมพ์และสามารถนำมานับได้มีเฉพาะ Article หรือ Conference Paper หรือ Review เท่านั้น ส่วนบทความที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการนั้นสามารถนำมานับได้เฉพาะที่เป็น Full Paper เท่านั้น

   การเผยแพร่ หมายถึง การเผยแพร่งานสร้างสรรค์จากศิลปะนิพนธ์ โดยการจัดนิทรรศการ (Exhibition) หรือจัดการแสดง (Performance) ซึ่งเป็นการนำเสนอผลงาน หรือสิ่งประดิษฐ์ทางศิลปะ ดนตรี ที่เป็นผลงานวิชาการ (นอกเหนือจากงานวิจัย) สู่สาธารณะและ/หรือกลุ่มเป้าหมาย โดยมีการจัดการนำเสนอในระดับชาติหรือนานาชาติอย่างเป็นระบบและเป็นวิธีการที่ยอมรับในวงวิชาชีพ หรือได้รับการสนับสนุนจากองค์กร สมาคมที่เกี่ยวข้องและมีชื่อเสียงในระดับชาติหรือนานาชาติ และมีกระบวนการประเมินคุณค่าของผลงานในการเผยแพร่ เช่น

- มีคณะกรรมการผู้พิจารณากลั่นกรองคุณภาพของผลงานก่อนเผยแพร่ ซึ่งอาจประกอบด้วย ศิลปินระดับชาติ ผู้ทรงคุณวุฒิ และนักวิชาการที่เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการ

- การประกวด มีรางวัลรับรองคุณภาพจากหน่วยงานที่มีคุณภาพ และที่เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการ

 

เกณฑ์การประเมิน      :           (ใช้กับ สมศ.3 สมศ.4 สมศ.5)

 

ค่าน้ำหนัก

ระดับคุณภาพงานวิจัย

0.125

บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ (Full paper) ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติที่มี กองบรรณาธิการจัดทํารายงานฯ หรือคณะกรรมการจัดประชุมประกอบด้วยศาสตราจารย์ หรือผู้ทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอก หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นๆ จากนอกสถาบันเจ้าภาพอย่างน้อยร้อยละ 25 และมีผู้ประเมินบทความที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้นจากนอกสถาบันของเจ้าของบทความ

0.25

บทความจากผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร วิชาการ (Journal) ระดับชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI หรือ บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ (Full paper) ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ที่มีกองบรรณาธิการจัดทำรายงานฯ หรือคณะกรรมการจัดประชุม ประกอบด้วยศาสตราจารย์ หรือผู้ทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอก หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นๆ จากต่างประเทศอย่างน้อย ร้อยละ 25 และมีผู้ประเมินบทความที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้นจากต่างประเทศ

0.50

บทความจากผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ(Journal) ที่มีชื่อปรากฏอยู่ในบัญชีรายชื่อวารสารระดับชาติที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเผยแพร่ใน Web site ของสำนักงานฯ

0.75

บทความจากผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลสากลอื่นๆ ที่ยอมรับในศาสตร์นั้นนอกเหนือ ฐานข้อมูล ISI หรือบทความจากผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ที่มีชื่อปรากฏอยู่ในบัญชีรายชื่อวารสารระดับนานาชาติที่ สกอ.เผยแพร่ใน Web site ของสำนักงานฯ

1.00

บทความจากผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลสากล ISI

 

ค่าน้ำหนัก

ระดับคุณภาพงานสร้างสรรค์

0.125

มีการเผยแพร่โดยการจัดนิทรรศการ (exhibition) หรือการจัดการแสดง (performance) ระดับสถาบันหรือจังหวัด

0.25

มีการเผยแพร่โดยการจัดนิทรรศการ (exhibition) หรือการจัดการแสดง (performance) ระดับชาติ

0.50

มีการเผยแพร่โดยการจัดนิทรรศการ (exhibition) หรือการจัดการแสดง (performance) ระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ

0.75

มีการเผยแพร่โดยการจัดนิทรรศการ (exhibition) หรือการจัดการแสดง (performance) ระดับภูมิภาคอาเซียน

1.00

มีการเผยแพร่โดยการจัดนิทรรศการ(exhibition) หรือการจัดการแสดง (performance) ระดับนานาชาติ (ทั้งในและนอกประเทศ)

อาเซียน หมายถึง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มี 10 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ไทย บรูไน พม่า ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ และอินโดนิเซีย


 

สูตรการคำนวณ                   :

ร้อยละของผลงาน  =

ผลรวมถ่วงน้ำหนักผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท

ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่

X 100

จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททั้งหมด

กรณีร้อยละของผลงาน  50 คะแนนที่ได้  = 5

 

ผลการดำเนินงานและข้อมูลพื้นฐานในอดีตและปัจจุบัน :

 

 

 

ข้อมูล/เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง

            3.1 รายละเอียดผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ปี 2553

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

รองคณบดีฝ่ายวิชาการ พัฒนาคุณภาพนักศึกษาและนักศึกษาเก่าสัมพันธ์
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

ปราณี  หะซัน /สุทธิณี  อินถา/เจตณวัฒน์  ฟูตั๋น

โทรศัพท์  053-94-4642

 

ตัวบ่งชี้ที่ 2.12(สมศ4)  ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ (ปีปฏิทิน)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           ผลลัพธ์ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้        :        

ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นปัจจัยสำคัญของคุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่แสดงถึงความเป็นผู้นำทางความคิด ความสามารถด้านการคิดเชิงวิพากษ์ การนำเสนอผลงาน มีทักษะในการวิจัย ทักษะและภูมิปัญญาในฐานะนักวิชาการและนักวิชาชีพขั้นสูง

ผลงานผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก หมายถึง บทความจากผลงานวิจัยหรือวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกที่ตีพิมพ์

การตีพิมพ์ หมายถึง การตีพิมพ์บทความจากวิทยานิพนธ์ ในวารสารวิชาการ (Journal) ในระดับชาติหรือนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลที่กำหนด รวมถึงบทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ (Full paper) ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติตามเงื่อนไขที่กำหนด

บทความจากวิทยานิพนธ์ ที่ได้รับการตีพิมพ์และสามารถนำมานับได้มีเฉพาะ Article หรือ Conference Paper หรือ Review เท่านั้น ส่วนบทความที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการนั้นสามารถนำมานับได้เฉพาะที่เป็น Full Paper เท่านั้น

 

เกณฑ์การประเมิน      :           (ใช้เกณฑ์ สมศ.3)

 

 

สูตรการคำนวณ                   :

ร้อยละของผลงาน  =

ผลรวมถ่วงน้ำหนักผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก

ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่

X 100

จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทั้งหมด

กรณีร้อยละของผลงาน  100 คะแนนที่ได้  = 5

 

ผลการดำเนินงานและข้อมูลพื้นฐานในอดีตและปัจจุบัน :

 

 

 

ข้อมูล/เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง

            4.1 รายละเอียดผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ปี 2553

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

รองคณบดีฝ่ายวิชาการ พัฒนาคุณภาพนักศึกษาและนักศึกษาเก่าสัมพันธ์
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

ปราณี  หะซัน /สุทธิณี  อินถา/เจตณวัฒน์  ฟูตั๋น

โทรศัพท์  053-94-4642

 

ตัวบ่งชี้ที่ 2.13(สมศ14)  การพัฒนาคณาจารย์ (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           ผลลัพธ์ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้          :          

คุณภาพอาจารย์พิจารณาจากคุณวุฒิและตำแหน่งทางวิชาการ เนื่องจากเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียน รวมทั้งพิจารณาจากความสำเร็จของสถาบันในการส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาคุณภาพอาจารย์ เพื่อให้อาจารย์ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง อันจะทำให้สถาบันสามารถแข่งขันได้ในระดับสากล

 

เกณฑ์การประเมิน      : 

ค่าน้ำหนักระดับคุณภาพอาจารย์

 

วุฒิการศึกษา

ตำแหน่งทางวิชาการ

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

อาจารย์

0

2

5

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

1

3

6

รองศาสตราจารย์

3

5

8

ศาสตราจารย์

6

8

10

 

สูตรการคำนวณ                   :

ดัชนีคุณภาพอาจารย์  =

ผลรวมถ่วงน้ำหนักของอาจารย์ประจำ

อาจารย์ประจำประจำทั้งหมด

กรณีดัชนีคุณภาพอาจารย์  6 คะแนนที่ได้  = 5

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

 

 

หมายเหตุ: คณะเกษตรศาสตร์ไม่มีอาจารย์วุฒิปริญญาตรี

 

ข้อมูล/เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง

            2.13.1 รายละเอียดการพัฒนาคณาจารย์

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

รองคณบดีฝ่ายบริหารและพัฒนา
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริหาร อาคารสถานที่ เทคโนโลยีสารสนเทศและวิทยบริการ
เลขานุการคณะ

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

สุดใจ  สันธทรัพย์/ธีระพงศ์  ปัญญาตุ้ย/อัญชลี  นากา

โทรศัพท์  053-94-4012 ต่อ 108

 

 

Reserved: องค์ประกอบที่ 3  กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา

 

ตัวบ่งชี้ที่ 3.1  ระบบและกลไกการให้คำปรึกษาและบริการด้านข้อมูลข่าวสาร (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           กระบวนการ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้          :          

สถาบันอุดมศึกษาควรจัดบริการด้านต่างๆ ให้นักศึกษาและศิษย์เก่าอย่างครบถ้วน โดยเฉพาะในกิจกรรมต่อไปนี้ (1) การบริการด้านการแนะแนวและการให้คำปรึกษา ทั้งด้านวิชาการและการใช้ชีวิต (2) การบริการด้านข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อนักศึกษาและศิษย์เก่า เช่น ทุนกู้ยืมการศึกษา แหล่งทุนการศึกษาต่อการบริการจัดหางาน แหล่งข้อมูลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ข้อมูลข่าวสารความเคลื่อนไหวในและนอกสถาบันที่จำเป็นแก่นักศึกษาและศิษย์เก่า และ (3) การจัดโครงการเพื่อพัฒนาประสบการณ์ทางวิชาชีพแก่นักศึกษาและศิษย์เก่าในรูปแบบต่างๆ

 

ผลการดำเนินงาน       :        

 

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานโดยสรุป

หลักฐาน (electronic)

1. มีการจัดบริการให้คำปรึกษาทางวิชาการและแนะแนวการใช้ชีวิตแก่นักศึกษา

หลักสูตรเกษตรศาสตร์เชิงระบบ มีการจัดเก็บข้อมูลของนักศึกษาเป็นประจำทุกปีการศึกษา

หลักสูตรเกษตรศาสตร์เชิงระบบ ได้มีการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาให้กับนักศึกษาในระดับปริญญาโทและปริญญาเอก

หลักสูตรเกษตรศาสตร์เชิงระบบ ร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์ มีหน่วยให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา

หลักสูตรเกษตรศาสตร์เชิงระบบ และคณะเกษตรศาสตร์ มีระบบส่งต่อในการรักษาพยาบาล กรณีนักศึกษามีความเจ็บป่วยรุนแรง

 

3.1.1.2 คำสั่งแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษา

3.1.1.3 คำสั่งแต่งตั้งนักวิชาการศึกษา ประสานงานหลักสูตรฯ

2. มีการจัดบริการข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อนักศึกษา

หลักสูตรเกษตรศาสตร์เชิงระบบ และศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์ มีการจัดระบบฐานข้อมูล ที่เป็นประโยชน์ต่อนักศึกษา โดยผ่านเว็บไซด์ จดหมายข่าว บอร์ดประชาสัมพันธ์ ของศูนย์วิจัยฯ และคณะ

3.1.2.1 เว็บไซด์คณะเกษตรศาสตร์

3.1.2.2 เว็บไซต์ ศวพก.

3. มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาประสบการณ์ทางวิชาการและวิชาชีพแก่นักศึกษา                         

 

หลักสูตรเกษตรศาสตร์เชิงระบบ และศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรได้ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมประชุมวิชาการนานาชาติ

3.1.3.1 การเข้าร่วมการประชุมวิชาการนานาชาติ ดินและปุ๋ยแห่งชาติ

4. มีการจัดบริการข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อศิษย์เก่า

หลักสูตรเกษตรศาสตร์เชิงระบบ และศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์ มีฐานข้อมูลศิษย์เก่า ที่สามารถแจ้งข่าวต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ โดยผ่านเว็บไซด์ จดหมายข่าว และบอร์ดประชาสัมพันธ์

3.1.4.1 เว็บไซด์คณะเกษตรศาสตร์

3.1.4.2 เว็บไซด์ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

 

 

 

 

 

5. มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้และประสบการณ์ให้ศิษย์เก่า

หลักสูตรเกษตรศาสตร์เชิงระบบ ร่วมกับคณเกษตรศาสตร์จัดกิจกรรมพัฒนาความรู้และประสบการณ์ให้ศิษย์เก่า

3.1.5.1 เว็ปไซด์ สมาคมศิษย์เก่า

 

 

6. มีผลการประเมินคุณภาพของการให้บริการในข้อ 1 - 3 ทุกข้อไม่ต่ำกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

การดำเนินการโดยผ่านคณะเกษตรศาสตร์ ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักที่จัดเก็บข้อมูล แล้วส่งต่อให้ภาควิชา / ศูนย์

3.1.6.1 http://web.agri.cmu.ac.th/eduserv/webSitePui/index.html

 

 

 

 

7. มีการนำผลการประเมินคุณภาพของการให้บริการมาใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาการจัดบริการที่สนองความต้องการของนักศึกษา

การดำเนินการโดยผ่าน คณะเกษตรศาสตร์

3.1.7.1 http://web.agri.cmu.ac.th/eduserv/webSitePui/index.html

 

 

 

 

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ

1  ข้อ

มีการดำเนินการ

2 หรือ 3 ข้อ

มีการดำเนินการ  4 หรือ 5 ข้อ

มีการดำเนินการ

6 ข้อ

มีการดำเนินการ

7 ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

6 ข้อ

7 ข้อ

þ บรรลุเป้าหมาย

5

 

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

จุฑามาศ  อ่อนประไพ

โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 239

 

ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           กระบวนการ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้          :          

สถาบันอุดมศึกษาต้องส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมนักศึกษาต่างๆ อย่างเหมาะสมและครบถ้วน กิจกรรมนักศึกษาหมายถึงกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่ดำเนินการทั้งโดยสถาบันและโดยองค์กรนักศึกษา เป็นกิจกรรมที่ผู้เข้าร่วมจะมีโอกาสได้รับการพัฒนาสติปัญญา สังคม อารมณ์ ร่างกาย และคุณธรรมจริยธรรมสอดคล้องกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ 5 ประการ ได้แก่ (1) คุณธรรม จริยธรรม (2) ความรู้ (3) ทักษะทางปัญญา (4) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (5) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และสอดคล้องกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ที่สภา/องค์กรวิชาชีพได้กำหนดเพิ่มเติม ตลอดจนสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต

 

ผลการดำเนินงาน       :        

 

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานโดยสรุป

หลักฐาน (electronic)

1. ส่วนงานจัดทำแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่ส่งเสริมผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติทุกด้าน

การกำหนดแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาดำเนินการโดยคณะเกษตรศาสตร์

3.2.1.1 http://web.agri.cmu.ac.th/eduserv/webSitePui/web_site/stdent_1.html

 

 

2. มีกิจกรรมให้ความรู้และทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแก่นักศึกษา

ยังไม่ได้ดำเนินการเป็นเอกเทศ แต่ให้คณะเกษตรศาสตร์เป็นหลักในการดำเนินการ

3.2.2.1 การฝึกอบรมประกันคุณภาพแก่ นักศึกษา ดำเนินการโดยคณะเกษตรศาสตร์

3. มีการส่งเสริมให้นักศึกษานำความรู้ด้านการประกันคุณภาพไปใช้ในการจัดกิจกรรมที่ดำเนินการโดยนักศึกษาอย่างน้อย 5 ประเภทสำหรับระดับปริญญาตรี และอย่างน้อย 2 ประเภทสำหรับระดับบัณฑิตศึกษา จากกิจกรรมต่อไปนี้

- กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์

- กิจกรรมกีฬาหรือการส่งเสริมสุขภาพ

- กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์หรือรักษาสิ่งแวดล้อม

- กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม

- กิจกรรมส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม

หลักสูตรเกษตรศาสตร์เชิงระบบ ได้จัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม และ กิจกรรมส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม ให้กับนักศึกษาในระดับปริญญาโท และปริญญาเอก

3.2.3.1 โครงการประสานความสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ระหว่างนักศึกษาต่างชาติ และบุคลากร ประจำปี 2553

 

 

 

 

 

 

4. มีการสนับสนุนให้นักศึกษาสร้างเครือข่ายพัฒนาคุณภาพภายในมหาวิทยาลัยและระหว่างมหาวิทยาลัย และมีกิจกรรมร่วมกัน

เนื่องจากศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร เป็นหน่วยงานสนับสนุนจัดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา และคณาจารย์ที่สอนมาจากภาควิชาต่าง ๆ ดังนั้น การจัดกิจกรรมด้านนี้ให้นักศึกษายังไม่เด่นชัด อีกประการหนึ่ง จำนวนนักศึกษายังมีน้อยมาก แต่ได้พยายามสร้างโอกาสให้นักศึกษาได้มีเครือข่ายกับสถาบันอื่น ๆ โดยผ่านจากการเข้าร่วมประชุมในระดับภูมิภาค หรือระดับชาติ ที่มีนักศึกษามาจากมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทั่วประเทศ

http://web.agri.cmu.ac.th/eduserv/webSitePui/index.html

 

 

 

 

 

 

5. มีการประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา

การดำเนินงานผ่านคณะเกษตรศาสตร์

 

 

 

 

 

 

 

6. มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา

การดำเนินงานผ่านคณะเกษตรศาสตร์

 

 

 

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ

1  ข้อ

มีการดำเนินการ

2 ข้อ

มีการดำเนินการ  3 หรือ 4  ข้อ

มีการดำเนินการ

5 ข้อ

มีการดำเนินการ

6 ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

 

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

6 ข้อ

6 ข้อ

þ บรรลุเป้าหมาย

5

 

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

จุฑามาศ  อ่อนประไพ

โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 239

 

Reserved: องค์ประกอบที่ 4  การวิจัย

 

ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           กระบวนการ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้          :          

สถาบันอุดมศึกษาต้องมีการบริหารจัดการงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่มีคุณภาพ โดยมีแนวทางการดำเนินงานที่เป็นระบบและมีกลไกส่งเสริมสนับสนุนครบถ้วน เพื่อให้สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนดไว้ ทั้งการสนับสนุนด้านการจัดหาแหล่งทุนวิจัยและการจัดสรรทุนวิจัย การส่งเสริมและพัฒนาสมรรถนะแก่นักวิจัยและทีมวิจัย การสนับสนุนทรัพยากรที่จำเป็น ซึ่งรวมถึงทรัพยากรบุคคล ทรัพยากรเงิน เครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

 

ผลการดำเนินงาน       :        

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานโดยสรุป

หลักฐาน (electronic)

1. มีระบบและกลไกบริหารงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามแผนด้านการวิจัยของส่วนงาน และดำเนินการตามระบบที่กำหนด

1.1 ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร ได้กำหนดกรอบการดำเนินการวิจัยของศูนย์ โดยกำหนดเป้าหมายในการใช้แนวทางการวิจัยเชิงระบบ สู่การวางแผนพัฒนา แก้ไขปัญหาการเกษตรและการจัดการทรัพยากรการเกษตรอย่างยั่งยืน รวมทั้งการวิจัยเพื่อพัฒนาความเข้มแข็งทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน

4.1.1.1-1 ระเบียบข้อบังคับด้านงานวิจัยของ มช

4.1.1.1-2 แผนยุทธศาสตร์ 2550-2554

4.1.1.1-3 แผนปฏิบัติการ 2554

4.1.1.1-4 เว็บไซต์ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

 

1.2 หัวหน้าศูนย์วิจัยฯ เป็นส่วนหนึ่งของคณะกรรมการวิจัยของคณะเกษตรศาสตร์ นอกจากนั้น ศูนย์วิจัยฯ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารงานของศูนย์ฯ ซึ่งมีบทบาทหนึ่งเพื่อสนับสนุนและกำกับการดำเนินการวิจัยของศูนย์ฯให้เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้

4.1.1.2-1 คณะกรรมการวิจัยของคณะเกษตรศาสตร์ 2554

4.1.1.2-2 รายชื่อกรรมการบริหารศูนย์ฯ

 

1.3 เพื่อบรรลุตามเป้าหมาย ศวพก. มีการแบ่งกลุ่มงานวิจัยออกเป็น 2 กลุ่มหลัก คือกลุ่มงานวิจัยระบบเกษตรยั่งยืน และกลุ่มงานวิจัยระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางเกษตร แต่ละกลุ่มงานได้มีการกำหนดตัวนักวิจัยประจำกลุ่ม ซึ่งนักวิจัยทุกคนต้องเขียนภาระงานทุก 6 เดือนโดยต้องมีภาระงานวิจัยไม่น้อยกว่า 18 ชั่วโมง/สัปดาห์ ร่วมกันเขียนโครงการวิจัยภายใต้กรอบงานที่กำหนดเพื่อขอรับทุนสนับสนุนจากแหล่งทุนต่างๆ ตามข้อกำหนดของแหล่งทุนที่ต้องมีแผนการปฏิบัติงาน ระยะเวลา งบประมาณ และสัดส่วนการรับผิดชอบของนักวิจัยแต่ละคนที่ชัดเจน

 ศูนย์ฯ มีระบบติดตามการดำเนินงานของนักวิจัยทุกคนผ่านระบบการประเมินโดยคณะกรรมการทุก 6 เดือน

4.1.1.3 ระบบการประเมินจาก TOR – JA ผ่านคณะหรือ MIS CMU (สามารถดึงใช้ถ้าต้องการ)

2. มีการบูรณาการกระบวนการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์กับการจัดการเรียนการสอน

2.1 ศวพก. สนับสนุนการจัดการ มีหลักสูตรการเรียนการสอนนานาชาติระดับปริญญาโทและเอกสาขาเกษตรศาสตร์เชิงระบบ ซึ่งเป็นหลักสูตรสหวิทยาการ ที่ได้บูรณาการองค์ความรู้ใหม่ๆ ที่ได้รับจากการวิจัย ไปใช้ในการเรียนการสอน หลักสูตรมุ่งเน้นการใช้ แนวทางเชิงระบบเพื่อแก้ปัญหาทางการเกษตรและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันในชั้นเรียน กรณีศึกษา สัมมนา และการทำวิทยานิพนธ์  ที่ผ่านได้มีการปรับปรุงหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง โดยการนำผลลัพธ์ที่ได้จากการวิจัยไปเป็นส่วนหนึ่งของเนื้อหาในการจัดการเรียนการสอน

2.2 ศวพก. สนับสนุนให้มีการรับนักศึกษาร่วมทำงานวิจัยในลักษณะผู้ช่วยวิจัยบางเวลาในเกือบทุกโครงการวิจัยอย่างต่อเนื่อง

2.3 ศวพก. มีการจัดประชุมเสนอผลผลงานวิจัย และการเสนอผลงานของนักศึกษาผ่านการสัมมนาทางวิชาการ

4.1.2.1 โครงสร้างหลักสูตรเกษตรศาสตร์เชิงระบบ และ ตัวอย่างเนื้อหาที่มีการใช้ผลงานวิจัยในการเรียนการสอน

4.1.2.2 ตัวอย่างโครงการที่มีผู้ช่วยเป็นนักศึกษา ป. เอก

4.1.2.3 การนำเสนอผลงานวิจัยโครงการ IMGP ที่มีนักศึกษามีส่วนร่วม

4.1.2.4 การสัมมนาของนักศึกษา

4.1.2.5 การนำนักศึกษามาเป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัย

4.1.2.6 กรรมการสอบวิทยานิพนธ์

3. มีการพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์และให้ความรู้ด้านจรรยาบรรณการวิจัยแก่อาจารย์ประจำและนักวิจัย

3.1 สนับสนุนให้มีการประชุมกลุ่มย่อย ระดมความคิดเห็นเพื่อนักวิจัยอาวุโส ในการเขียนโครงการวิจัยร่วมกัน  มีการช่วยเหลือจากให้คำแนะนำ ข้อคิดเห็นในการปรับปรุงโครงการวิจัยให้เหมาะสม เพื่อมีโอกาสได้รับทุนวิจัยมากขึ้น

3.2 การพัฒนานักวิจัย ผ่านกระบวนการทำงานร่วมกันเป็นทีม ซึ่งมีทั้งนักวิจัยอาวุโส นักวิจัยระดับกลาง ผู้ช่วยวิจัยซึ่งจบการศึกษาและกำลังศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา อย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ

3.3 การทำงานร่วมกันในลักษณะหลากหลายสาขาวิชา ทำให้นักวิจัยได้มีการเรียนรู้งานกว้างขวางขึ้น มีโอกาสได้รับฟังความคิดเห็นจากนักวิจัยต่างสาขา ทำให้เกิดการพัฒนากระบวนความคิดในการวิจัย

4.1.3.1 หลักฐานบันทึกการประชุมกลุ่มย่อย

4.1.3.2 ตัวอย่างโครงการวิจัยที่มีการทำงานเป็นทีมใหญ่ นักวิจัยหลายระดับ และหลายสาขา (IMGP Fodd Security)

4. มีการจัดสรรงบประมาณของส่วนงานเพื่อเป็นทุนวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

4.1 ในแต่ละปี ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร มีการจัดสรรงบประมาณเงินรายได้จำนวนหนึ่ง นอกเหนือจากการขอทุนจากแหล่งทุนภายนอก เพื่อให้นักวิจัยของศูนย์ฯ ได้เขียนโครงการวิจัยเพื่อนำไปใช้ทำงานวิจัยในประเด็นที่สนใจ เป็นที่ต้องการและเป็นประโยชน์ต่อชุมชน เช่น งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการผลิตอาหารปลอดภัย งานวิจัยที่เสริมสร้างรายได้และความเข้มแข็งของชุมชน งานวิจัยด้านผู้บริโภคเป็นต้น

4.2 ศวพก. มีอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ internet ที่อำนวยความสะดวกแก่นักวิจัยทุกคนในการสืบค้นข้อมูลวิจัย  และระบบสารสนเทศที่เชื่อมโยงกับแหล่งทุนวิจัยต่าง มีคลังวิชาการประเภทบทความและหนังสือต่างๆ ให้นักวิจัยเข้าถึงและเรียกใช้ได้  รวมทั้งมีการแจ้งเวียนผ่านระบบ E-office ให้นักวิจัยทราบตลอดเวลาที่มีการเปิดรับโครงการวิจัยจากแหล่งทุนต่างๆ

4.3 ศวพก. มีนักวิจัยอาวุโสรวม 3 ท่าน เป็นกรรมการที่ปรึกษา คอยให้คำแนะนำแก่นักวิจัยรุ่นหลังในการเขียนโครงการวิจัยจากแหล่งทุนต่างๆ

4.1.4.1  เอกสารหลักฐาน แผนงบประมาณปี 2554

และ  โครงการวิจัยเงินรายได้ปี 2554

4.1.4.2 ระบบสารสนเทศ และระบบสืบค้น

(เว็บไซต์ ศวพก   เว็บไซต์เชื่อมโยง 

 ระบบสืบค้นสิ่งตีพิมพ์ และหนังสือ  รายงานสัมมนาระบบเกษตร ปีต่างๆ

4.1.4.3  รายชื่อกรรมการที่ปรึกษาประจำศูนย์วิจัยฯ

5. มีการสนับสนุนพันธกิจด้านการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ตามอัตลักษณ์ของส่วนงานอย่างน้อยในประเด็นต่อไปนี้

- ห้องปฏิบัติการวิจัยฯ หรือหน่วยวิจัยฯ หรือศูนย์เครื่องมือ หรือศูนย์ให้คำปรึกษาและสนับสนุนการวิจัยฯ

- ห้องสมุดหรือแหล่งค้นคว้าข้อมูลสนับสนุนการวิจัยฯ

- สิ่งอำนวยความสะดวกหรือการรักษาความปลอดภัยในการวิจัยฯ เช่น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบรักษาความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการวิจัย

- กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมงานวิจัยฯ เช่น การจัดประชุมวิชาการ การจัดแสดงงานสร้างสรรค์ การจัดให้มีศาสตราจารย์อาคันตุกะหรือศาสตราจารย์รับเชิญ (visiting professor)

5.1 ศวพก. มีคณะกรรมการดูแลระบบสารสนเทศ และได้จัดหาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และระบบ internet ที่อำนวยความสะดวกแก่นักวิจัยทุกคนในการสืบค้นข้อมูลวิจัย  มีคลังวิชาการประเภทบทความและหนังสือต่างๆ ในระบบสารสนเทศที่สนับสนุนวิจัยต่างให้นักวิจัยเข้าถึงและเรียกใช้ได้ 

 

5.2 ศวพก. มีสถานีวิจัยเพื่อการเกษตรเขตชลประทาน ซึ่งมีระบบน้ำ เครื่องมือการเกษตร และสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ที่สามารถใช้ในการทดสอบ ทดลองและปฏิบัติงานวิจัยได้เป็นอย่างดี มีห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ตัวอย่างดินและพืชที่ได้มาตรฐานสากล สามารถวิเคราะห์ ธาตุอาหารที่มีอยู่ในดิน พืช ปุ๋ย และน้ำ เพื่อสนับสนุนงานวิจัยได้ รวมทั้งมีห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ที่ให้นักศึกษา หรือนักวิจัยใช้ปฏิบัติงานได้

5.3 ศวพก. มีการสนับสนุนให้นักวิจัย ผู้ช่วยวิจัย และนักศึกษา ไปร่วมประชุมเสนอผลงานวิจัยสม่ำเสมอ ทั้งการเดินทางไปเสนอผลงานวิจัยระดับนานาชาติ และการเสนอผลงานวิจัยในการประชุมระดับชาติในประเทศ มีการเน้นการไปร่วมประชุมเสนอผลงานเป็นทีม เพื่อร่วมรับฟังข้อคิดเห็น ความก้าวหน้าในงานวิจัยเพื่อนำมาปรับใช้ในการพัฒนางานวิจัยของ ศวพก.

 4.1.5.1-1 คณะกรรมการระบบสารสนเทศของศวพก

4.1.5.1-2 หลักฐานการขอจัดซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ของ ศวพก.

4.1.5.1-3 ระบบสารสนเทศภายในเพื่อสืบค้นคลังวิชาการ 

4.1.5.1-4คลังบทความ วิชาการ ระบบสืบค้นสิ่งตีพิมพ์

 4.1.5.2-1  สถานีวิจัยเพื่อการเกษตรเขตชลประทาน และห้องปฏิบัติการดิน ปุ๋ย และพืช

4.1.5.2-2 แผนงานย้ายสถานี

4.1.5.2-3  งานก่อสร้างไร่แม่เหียะ

 4.1.5.3 (1) แผนงบประมาณ 2544 ในส่วนงบประมาณสำหรับเดินทางไปเสนอผลงาน  และ (2) การบูรณาการงานวิจัยกับการเรียนการสอน

4.1.5.4 การนำเสนอผลงานวิจัยในการประชุมระบบเกษตรแห่งชาติครั้งที่ 6, 16-18 สิงหาคม 2553

6. มีการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนในข้อ 4 และข้อ 5 อย่างครบถ้วนทุกประเด็น

6.1 ศวพก. มีการจัดประชุมประจำปีทุกปี เพื่อให้นักวิจัยได้เสนอผลการทำงานในรอบปี รวมทั้งการใช้เวทีประชุมเป็นที่ติดตามประเมินผลการดำเนินงานวิจัยของนักวิจัยแต่ละคน หรือแต่ละโครงการ รวมทั้งมีการให้ข้อคิดเห็น การแบ่งกลุ่มระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางในการวางแผนการทำงานในปีต่อไป

6.2 สำหรับโครงการวิจัยที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจาก ศวพก. นักวิจัยทุกคนต้องจัดทำโครงการวิจัยและบันทึกในข้อสัญญาที่จะต้องทำงานให้เสร็จทันเวลา ต้องมีรายงานการวิจัยที่มีผลงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ รวมทั้ง ศวพก. ยังจัดให้มีระบบการนำเสนอผลการวิจัยดังกล่าวต่อที่ประชุม โดยมีนักวิจัยอาวุโสและผู้ร่วมประชุมเป็นผู้ประเมินและให้ข้อเสนอแนะ

6.3  ในส่วนโครงการวิจัยที่ขอสนับสนุนทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก นักวิจัยทุกคนมีภารกิจที่ต้องปฏิบัติงานให้ได้ผลและสำเร็จในเวลาตามข้อตกลงที่กำหนดไว้ โดยมีหัวหน้าหน่วยงานและคณะกรรมการบริหาร ศวพก. คอยให้คำแนะนำและกำกับให้เป็นไปตามข้อตกลง  ซึ่งที่ผ่านมาศูนย์วิจัยสามารถดำเนินงานได้สำเร็จทันเวลา มีผลงานวิจัยเป็นที่ประจักษ์ผ่านการประเมินจากคณะกรรมการของแหล่งทุนวิจัยมาตลอด ทำให้สามารถเขียนโครงการขอรับทุนจากแหล่งทุนได้ต่อเนื่องเป็นเวลาหลายปี

4.1.6.1 รายงานผลการประชุมประจำปี และบันทึกการประชุม

 

4.6.1.2 รวบรวมใบแจ้งผลการประเมินผลงานวิจัยจากแหล่งทุนต่างๆ และบันทึกการประชุมที่มีการให้คิดเห็นต่อผลงานวิจัย

4.1.6.3 บทความนำเสนอในรายงานประจำปีของศูนย์ฯ

7. มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการสนับสนุนพันธกิจด้านการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ของส่วนงาน

7.1  จากผลการประเมินผลงานวิจัยและข้อเสนอแนะจากแหล่งทุนภายนอก ข้อเสนอแนะจากการนำเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการต่างๆ รวมทั้งข้อเสนอแนะจากการนำเสนอผลงานวิจัยในที่ประชุมประจำปีของ ศวพก. นักวิจัยได้มีการนำข้อเสนอแนะดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ในการปรับเขียนโครงการวิจัย/ผลงานวิจัย รวมทั้งมีการประชุมกลุ่มย่อยต่อเนื่องเพื่อพัฒนาการเขียนโครงการวิจัยต่อไป

4.1.7.1 การจัดกลุ่มพูดคุยเพื่อจัดและปรับโครงการวิจัย

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ

1 ข้อ

มีการดำเนินการ

2 หรือ 3 ข้อ

มีการดำเนินการ  4 หรือ 5 ข้อ

มีการดำเนินการ

6 ข้อ

มีการดำเนินการ

7 ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

 

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

7 ข้อ

7 ข้อ

þ บรรลุเป้าหมาย

5

 

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

กุศล ทองงาม โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 202

สมจิต ธารารักษ์ โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 265

 

ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           กระบวนการ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้          :          

การบริหารจัดการความรู้จากผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ เพื่อเผยแพร่ไปยังคณาจารย์ นักศึกษา วงการวิชาการ หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ตลอดจนชุมชนเป้าหมายที่จะนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ เป็นเรื่องที่มีความสำคัญสำหรับทุกสถาบันอุดมศึกษา ดังนั้น สถาบันต้องจัดระบบส่งเสริมสนับสนุนให้มีการรวบรวม เผยแพร่ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในทรัพย์สินทางปัญญาจากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์อย่างเหมาะสมกับผู้ใช้แต่ละกลุ่ม โดยสิ่งที่เผยแพร่ต้องมีคุณภาพเชื่อถือได้และรวดเร็วทันเหตุการณ์

 

ผลการดำเนินงาน       :        

 

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานโดยสรุป

หลักฐาน (electronic)

1. มีระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ และมีการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ

ศวพก. ได้ดำเนินการเพื่อการสนับสนุนการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยในระยะที่ผ่านมาโดย

1.1 การจัดสรรงบประมาณเงินรายได้ประจำปีทุกปีเพื่อให้นักวิจัยของศูนย์เดินทางไปร่วมประชุมเสนอผลงานวิจัย โดยในปีงบประมาณ 2554 ได้จัดสรรเงินจำนวน  30000 บาท

1.2 การจัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนเป็นค่าตีพิมพ์ในวารสาร และการจ่ายเป็นค่าตอบแทนสำหรับผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ โดยมีหลักเกณฑ์ของศูนย์ฯ ต่อมาได้ปรับเป็นหลักเกณฑ์ของคณะเกษตรศาสตร์

1.3 การจัดสรรงบประมาณเงินรายได้ เพื่อจัดโครงการสัมมนาวิชาการประจำปีของศูนย์วิจัย เพื่อกระตุ้นให้นักวิจัยเขียนผลงานวิจัยนำเสนอ เพื่อประเมินผลและพัฒนาปรับปรุงสู่การตีพิมพ์เผยแพร่ในเอกสารวิชาการต่อไป

4.2.1.1 แผนการใช้จ่ายเงินโครงการ 2554 ของศูนย์ ในการสนับสนุนการเดินทางไปร่วมประชุมเสนอผลงานวิจัย การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ และการจัดโครงการสัมมนาวิชาการประจำปีของ ศวพก.

 

2. มีระบบและกลไกการรวบรวม คัดสรร วิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ เพื่อให้เป็นองค์ความรู้ที่คนทั่วไปเข้าใจได้ และดำเนินการตามระบบที่กำหนด

2.1 ศูนย์วิจัยฯ มีระบบและกลไกรวบรวม คัดสรร และวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากงานวิจัยผ่านทางการประชุมประจำปีของศูนย์ การสัมมนาระหว่างปีในศูนย์ และการประชุมวิชาการระดับประเทศ เพื่อถ่ายทอดให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย มีการทำการเผยแพร่งานวิจัยในรูปแบบต่างๆ เช่นการประชุมร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การประชุมกับกลุ่มเกษตรกร การฝึกอบรมความรู้จากงานวิจัยกับเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานราชการและองค์การมหาชน

4.2.2.1 รายงานการประชุมประจำปีของศูนย์ฯ 2553

 

3. มีการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่องค์ความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้จากข้อ 2  สู่สาธารณชนและผู้เกี่ยวข้อง

 ศวพก. มีการเผยแพร่ผลงานวิจัยสู่สังคม โดยวิธีการต่างๆ เช่น

3.1 การนำเสนอผลงานวิจัยผ่านการประชุมทางวิชาการทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ  รวมทั้งการตีพิมพ์ในวารสาร

 

3.2  เผยแพร่ผ่านกระบวนการเข้าถึงผู้ใช้โดยตรง เช่น การประสานงานหน่วยงานเพื่อจัดประชุม หรือการฝึกอบผู้ใช้ผลงานทั้งระดับเกษตรกร และหน่วยงาน

 

4.2.3.1  (1) ตัวอย่างงานวิจัยเสนอผลงานในงานประชุมระบบเกษตร ครั้งที่ 6 จังหวัดสงขลา – (2) การนำเสนอต่างประเทศ – และ(3) ตีพิมพ์ในวารสาร

 

4.2.3.2 (1) การจัดประชุมเสนอผลงานวิจัย IMGP ครั้งที่ 1  และ (2) การจัดประชุมเสนอผลงานวิจัย IMGP ครั้งที่ 2

4. มีการนำผลงานงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ และมีการรับรองการใช้ประโยชน์จริงจากหน่วยงานภายนอกหรือชุมชน

4.1 งานวิจัยที่เกี่ยวกับการผลิตพืชผักปลอดสารพิษ ได้ถ่ายทอดสู่สังคมผ่านการฝึกอบรมเกษตรกรผู้ผลิต  มีการสนับสนุนเกษตรกรดำเนินการผลิตโดยใช้เทคโนโลยีที่ได้จากการวิจัย มีการจัดกิจกรรมสนับสนุนร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ทำให้เกษตรกรมีการนำผลวิจัยไปใช้ในวงกว้าง

4.2 งานวิจัยเกี่ยวกับระบบสนับสนุนการตัดสินในการวางแผนการใช้ที่ดิน/ทรัพยากรการเกษตร

 

4.2.4.1 โครงการผักปลอดสารพิษ

(1) นิทรรศการ

(2) บรรยายให้ความรู้

(3) ประชุม อบรม

(4) อบรมเสวนา

(5) รายงานผลการส่งเสริมผลิตผลักปลอดสารพิษอ. แม่วาง

(6) รายงานโครงการผลิตผักปลอดสารพิษ-อาหารปลอดภัยในชุมชน

(7) รายงานผลการดำเนินงานขยายผลผลิตผักปลอดสารพิษ

(8) หนังสือขอบคุณจาก อบต.บ้านกาด อ.แม่วาง จ.เชียงใหม่

4.2.4.2 โครงการระบบสนับสนุนการตัดสินใจระดับจังหวัด (รสทก.)

- ฝึกอบรมให้กับจังหวัดกาฬสินธุ์

- สนับสนุนโปรแกรมและฝึกอบรมให้กับ อบจ. เชียงใหม่

5. มีระบบและกลไกเพื่อช่วยในการคุ้มครองสิทธิของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์และดำเนินการตามระบบที่กำหนด

ศูนย์วิจัยฯ มีระบบกลไกในการคุ้มครองสิทธิของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ โดยใช้ระบบและกลไกของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่และคณะเกษตรศาสตร์

4.2.5.1 ระเบียบข้อบังคับด้านการวิจัย ของ มช

6. มีระบบและกลไกส่งเสริมการจดสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร และมีการยื่นจดสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร (เฉพาะกลุ่ม ค1 และ ง)

ศูนย์วิจัยฯ มีระบบและกลไกส่งเสริมการจดสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร และมีการยื่นจดสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร โดยใช้ระบบและกลไกของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่และคณะเกษตรศาสตร์

4.2.6.1 ระเบียบข้อบังคับด้านการวิจัย ของ มช

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ

1 ข้อ

มีการดำเนินการ

2 ข้อ

มีการดำเนินการ  3 ข้อ

มีการดำเนินการ

4 ข้อ

มีการดำเนินการ

6 ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

 

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

6 ข้อ

6 ข้อ

þ บรรลุเป้าหมาย

5

 

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

กุศล ทองงาม โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 202

สมจิต ธารารักษ์ โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 265

 

ตัวบ่งชี้ที่ 4.3  เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ (ปีงบประมาณ)

                   ต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้         :           ปัจจัยนำเข้า

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้          :          

ปัจจัยสำคัญที่ส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการผลิตงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในสถาบันอุดมศึกษา คือ เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ดังนั้น สถาบันอุดมศึกษาจึงต้องจัดสรรเงินจากภายในสถาบันและที่ได้รับจากภายนอกสถาบันเพื่อสนับสนุนการทำวิจัยหรืองานสร้างสรรค์อย่างมีประสิทธิภาพตามสภาพแวดล้อมและจุดเน้นของสถาบัน

นอกจากนั้นเงินทุนวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่สถาบันได้รับจากแหล่งทุนภายนอกยังเป็นตัวบ่งชี้ที่สำคัญ ที่แสดงถึงศักยภาพด้านการวิจัยของสถาบัน โดยเฉพาะสถาบันที่อยู่ในกลุ่มที่เน้นการวิจัย

 

สูตรการคำนวณ         :  

 

จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯ ต่อคน =

จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯ จากภายในและภายนอก

จำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ (ปฏิบัติงานจริง)

 

เกณฑ์การประเมิน      : 

 

คะแนนที่ได้  =

จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯ ต่อคน

x  5

180,000

กรณีจำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯ ต่อคน 180,000 คะแนนที่ได้  = 5

 

ผลการดำเนินงานและข้อมูลพื้นฐานในอดีตและปัจจุบัน :

จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯ ต่อคน =

(16,839,307+74,053,124)

 

= 1.367 ล้านบาท

66.5

 

 

คะแนนประเมินตนเอง :

 

คะแนนที่ได้  =

1,366,803

X 5

= 5

180,000

กรณีจำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯ ต่อคน 180,000 คะแนนที่ได้  = 5

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

 

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

0.450 ล้านบาท

1.367 ล้านบาท

þ

5

 

 

ข้อมูล/เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง

4.3.1    รายละเอียดจำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมด (อ้างอิงตามตัวบ่งชี้ 2.2)

(จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง 66.5 คน)

(ทำไฟล์แนบหรือพัฒนาระบบ AG-MIS ให้ครบถ้วน ตามรอบปีและวิธีการนับจำนวนคน)

ลำดับ

ที่

สังกัด

ภาควิชา

รายชื่ออาจารย์

(ทั้งหมด)

คุณวุฒิ

(ป.เอก/โท/ตรี)

ตำแหน่งทางวิชาการ
(อ./ผศ./รศ./ศ.)

หมายเหตุ

 (ใส่รหัส)

1

 

 

 

 

 

2

 

 

 

 

 

3

 

 

 

 

 

...

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 การนับจำนวนอาจารย์สำหรับปีการศึกษา 2553 (1 มิ.ย 2553 - 31 พ.ค 2554)

รหัส

การนับเวลาการทำงาน

การนับจำนวนรวม

ทั้งหมด

การนับจำนวนที่ปฎิบัติงานจริง

บรรจุ/รายงานตัวระหว่าง

ระยะเวลาทำงาน

การนับจำนวน

จำนวนรวม

1

1 มิ. 53 – 1 . 53

9 – 12 เดือน

66

1 คน

66

.5

2 . 53 – 1 . 53

6 – <9 เดือน

1

.5 คน

.5

0

2 . 53 – 31 . 54

<6 เดือน

0

0 คน

0

0

ลาศึกษาต่อ

0

1

0 คน

0

รวม

68

 

66.5

 

 

4.3.2 รายละเอียดจำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายใน ปีงบประมาณ 2553

4.3.3 รายละเอียดจำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายนอกสถาบัน ปีงบประมาณ 2553

(จำนวนเงิน (16,839,307+74,053,124) = 90,892,431 บาท)

 

 

หมายเหตุ :

1. จำนวนอาจารย์และนักวิจัยประจำ ให้นับตามปีการศึกษา และนับเฉพาะที่ปฏิบัติงานจริงไม่นับรวมผู้ลาศึกษาต่อ

2. ให้นับจำนวนเงินที่มีการเซ็นสัญญารับทุนในปีการศึกษาหรือปีงบประมาณนั้นๆ ไม่ใช่จำนวนเงินที่เบิกจ่ายจริง

3. การแบ่งสัดส่วนจำนวนเงินกรณีมีผู้วิจัยจากหลายคณะวิชาหรือหลายสถาบัน ให้แบ่งสัดส่วนจำนวนเงินตามที่คณะวิชาหรือสถาบันตกลงกัน

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

กุศล ทองงาม โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 202

สมจิต ธารารักษ์ โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 265

 

ตัวบ่งชี้ที่ 4.4(สมศ5)  งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ (ปีปฏิทิน)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           ผลลัพธ์ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้                  :        

การวิจัยเป็นพันธกิจหนึ่งที่สำคัญของของสถาบันอุดมศึกษา การดำเนินการตามพันธกิจอย่างมีประสิทธิภาพและประสบความสำเร็จนั้น สามารถพิจารณาได้จากผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่มีคุณภาพและมีการเผยแพร่อย่างกว้างขวางจากการเปรียบเทียบจำนวนบทความวิจัยที่ตีพิมพ์และจำนวนผลงานสร้างสรรค์ที่เผยแพร่ในระดับชาติหรือระดับนานาชาติของอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ

การตีพิมพ์ หมายถึง การตีพิมพ์บทความจากผลงานวิจัยในวารสารวิชาการ (Journal) ในระดับชาติหรือนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลที่กำหนด รวมถึงบทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ (Full paper) ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติตามเงื่อนไขที่กำหนด

บทความจากผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ที่สามารถนำมานับได้มีเฉพาะ Article หรือ Conference Paper หรือ Review เท่านั้น ส่วนบทความจากผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการนั้นสามารถนำมานับได้เฉพาะที่เป็น Full Paper เท่านั้น

การเผยแพร่ หมายถึง การเผยแพร่งานสร้างสรรค์ โดยการจัดนิทรรศการ (Exhibition) หรือจัดการแสดง (Performance) ซึ่งเป็นการนำเสนอผลงาน หรือสิ่งประดิษฐ์ทางศิลปะ ดนตรี และการแสดงที่เป็นผลงานวิชาการ (นอกเหนือจากงานวิจัย) สู่สาธารณะหรือกลุ่มเป้าหมาย โดยมีการจัดการนำเสนอในระดับชาติหรือนานาชาติอย่างเป็นระบบและเป็นวิธีการที่ยอมรับในวงวิชาชีพ หรือได้รับการสนับสนุนจากองค์กร สมาคมที่เกี่ยวข้องและมีชื่อเสียงในระดับชาติหรือนานาชาติ และมีกระบวนการประเมินคุณค่าของผลงานในการเผยแพร่ เช่น

- มีคณะกรรมการผู้พิจารณากลั่นกรองคุณภาพของผลงานก่อนเผยแพร่ ซึ่งอาจประกอบด้วย ศิลปินระดับชาติ ผู้ทรงคุณวุฒิ และนักวิชาการที่เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการ

- การประกวด มีรางวัลรับรองคุณภาพจากหน่วยงานที่มีคุณภาพ และที่เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการ

 

เกณฑ์การประเมิน      :           (ใช้เกณฑ์ สมศ.3)

 

 

สูตรการคำนวณ                   :

ร้อยละของงานวิจัย  =

ผลรวมถ่วงน้ำหนักของงานวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ (ปีปฏิทิน)

X 100

อาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำทั้งหมด (ปีการศึกษา)

กรณีร้อยละของผลงาน  20 คะแนนที่ได้  = 5

 

ผลการดำเนินงานและข้อมูลพื้นฐานในอดีตและปัจจุบัน :

 

 

 

ข้อมูล/เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง

            4.4.1 รายละเอียดของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ปี 2553

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

รองคณบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

วิไลพร  ธรรมตา/ลาลิตยา  นุ่มมีศรี/มานพ  เปี้ยพรรณ์

โทรศัพท์  053-94-4089-92 ต่อ 13

 

ตัวบ่งชี้ที่ 4.5(สมศ6)  งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ (ปีปฏิทิน)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           ผลลัพธ์ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้        :        

การวิจัยเป็นพันธกิจหนึ่งที่สำคัญของของสถาบันอุดมศึกษา การดำเนินการตามพันธกิจอย่างมีประสิทธิภาพและประสบความสำเร็จนั้น สามารถพิจารณาได้จากผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่มีคุณภาพและมีประโยชน์สู่การนำไปใช้จากการเปรียบเทียบจำนวนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ของอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำที่นำมาใช้ประโยชน์ในการแก้ปัญหาตามวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้ในโครงการวิจัยและรายงานการวิจัยโดยได้รับการรับรองการใช้ประโยชน์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ

การนำไปใช้ประโยชน์ หมายถึง งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้นำไปใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้ในโครงการ โครงการวิจัย และรายงานการวิจัยอย่างถูกต้อง สามารถนำไปสู่การแก้ปัญหาได้อย่างเป็นรูปธรรมกับกลุ่มเป้าหมาย โดยมีหลักฐานปรากฏอย่างชัดเจนถึงการนำไปใช้จนก่อให้เกิดประโยชน์ได้จริงตามวัตถุประสงค์ และได้การรับรองการใช้ประโยชน์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

 

สูตรการคำนวณ                   :

ร้อยละของงานวิจัย  =

จำนวนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ (ปีปฏิทิน)

X 100

อาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำทั้งหมด (ปีการศึกษา)

กรณีร้อยละของงานวิจัย  20 คะแนนที่ได้  = 5

 

ผลการดำเนินงานและข้อมูลพื้นฐานในอดีตและปัจจุบัน :

 

 

ข้อมูล/เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง

            4.5.1 รายละเอียดของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ ปี 2553

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

รองคณบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

วิไลพร  ธรรมตา/ลาลิตยา  นุ่มมีศรี/มานพ  เปี้ยพรรณ์

โทรศัพท์  053-94-4089-92 ต่อ 13

 

ตัวบ่งชี้ที่ 4.6(สมศ7)  ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ (ปีปฏิทิน)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           ผลลัพธ์ 

 

เกณฑ์การประเมิน      : 

 

ค่าน้ำหนัก

ระดับคุณภาพผลงานวิชาการ

0.25

บทความวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ

0.50

บทความวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ

0.75

ตำราหรือหนังสือที่มีการตรวจอ่านโดยผู้ทรงคุณวุฒิ

1.00

ตำราหรือหนังสือที่ใช้ในการขอผลงานทางวิชาการและผ่านการพิจารณาตามเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการแล้ว หรือตําราหรือหนังสือที่มีคุณภาพสูงมีผู้ทรงคุณวุฒิตรวจอ่านตามเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการ

 

          · ผลงานวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพ หมายถึง บทความวิชาการ ตำรา หรือหนังสือ ที่ผ่านกระบวนการกลั่นกรองและได้รับการรับรองคุณภาพแล้ว ตามเกณฑ์ของ กพอ. เรื่องหลักเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการหรือเทียบเท่า

          · ผลงานทางวิชาการที่เป็นบทความวิชาการ (Academic Papers) ตำรา (Textbook) หรือหนังสือ (Books) ต้องเป็นผลงานที่ผ่านกระบวนการกลั่นกรองผลงานก่อนตีพิมพ์ โดยมีรายละเอียดดังนี้

                        ๑. บทความวิชาการ หมายถึง เอกสารทางวิชาการที่เรียบเรียงอย่างเป็นระบบ มีข้อความรู้ที่สะท้อนมุมมอง แนวคิดเชิงทฤษฎีที่ได้จากประสบการณ์  การสังเคราะห์เอกสาร  หรือการวิจัย โดยจัดทำในรูปของบทความเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ในสารสารวิชาการที่มีคุณภาพซึ่งมีผู้ตรวจอ่าน 

                   ๒. ตำรา หมายถึง เอกสารทางวิชาการที่เรียบเรียงอย่างเป็นระบบ อาจเขียนเพื่อตอบสนองเนื้อหาทั้งหมดของรายวิชาหรือเป็นส่วนหนึ่งของวิชาหรือหลักสูตรก็ได้ โดยมีการวิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง และสะท้อนให้เห็นความสามารถในการถ่ายทอดวิชาในระดับอุดมศึกษา

                   ๓. หนังสือ หมายถึง เอกสารทางวิชาการที่เขียนขึ้นเพื่อเผยแพร่ความรู้ ไปสู่วงวิชาการและ/  หรือผู้อ่านทั่วไป โดยไม่จำเป็นต้องเป็นไปตามข้อกำหนดของหลักสูตรหรือต้องนำมาประกอบการเรียนการสอนในวิชาใดวิชาหนึ่ง ทั้งนี้ จะต้องเป็นเอกสารที่เรียบเรียงขึ้นอย่างมีเอกภาพ มีรากฐานทางวิชาการที่มั่นคง และให้ทัศนะของผู้เขียนที่สร้างเสริมปัญญาความคิด และสร้างความแข็งแกร่งทางวิชาการให้แก่สาขาวิชานั้นๆ และ/หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวเนื่อง

· วารสารระดับชาติ หมายถึง วารสารวิชาการ(Journal) ที่มีชื่ออยู่ในฐานข้อมูล Thai- Journal  Citation Index Centre (TCI) หรือวารสารวิชาการที่ยอมรับโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ให้เป็นวารสารระดับชาติและมีชื่อปรากฎในบัญชีรายชื่อที่เผยแพร่

· วารสารระดับนานาชาติ หมายถึง วารสารวิชาการ (Journal) ที่ปรากฏในฐานข้อมูลสากล เช่น ฐานข้อมูล ISI Web of Science (Science Citation Index Expand, Social Sciences Citation Index, Art and Humanities Citation Index) หรือฐานข้อมูล Scopus หรือในฐานข้อมูลสากลอื่นๆ ที่ยอมรับในศาสตร์นั้นๆ หรือวารสารวิชาการที่ยอมรับโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ให้เป็นวารสารระดับนานาชาติและมีชื่อปรากฎในบัญชีรายชื่อที่เผยแพร่

           · หน่วยงานที่เชื่อถือได้ในการรับรองคุณภาพผลงานทางวิชาการ หมายถึง หน่วยงานภาครัฐและเอกชนทั้งในประเทศและต่างประเทศที่มีกระบวนการอย่างเป็นระบบและประกันคุณภาพในการพิจารณาจัดพิมพ์/เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ โดยมีกระบวนการพิจารณาต้นฉบับจากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิหรือพิชญพิจารณ์ (Peer Review) ซึ่งเป็นที่ยอมรับว่ามีความรู้ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องก่อนการตีพิมพ์/เผยแพร่

· การนับจำนวนผลงานทางวิชาการ จะนับผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ โดยเป็นผลงานที่ได้รับการพิจารณาให้ตีพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบของบทความวิชาการในวารสารวิชาการทั้งในระดับชาติหรือนานาชาติ หนังสือ หรือตำราทางวิชาการ ซึ่งมีระบบการพิจารณาต้นฉบับจากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิก่อนการตีพิมพ์ ให้นับการตีพิมพ์เพียงครั้งเดียวต่องานวิชาการ ๑ เล่ม ไม่นับซ้ำกรณีที่ได้รับการตีพิมพ์หลายครั้ง หรือที่อยู่ระหว่างกระบวนการตีพิมพ์

 

สูตรการคำนวณ                   :

ร้อยละของผลงานวิชาการ  =

ผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพ (ปีปฏิทิน)

X 100

อาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำทั้งหมด (ปีการศึกษา)

กรณีร้อยละของผลงานวิชาการ 10 คะแนนที่ได้  = 5

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

 

 

 

ข้อมูล/เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง

            4.6.1 รายละเอียดของผลงานวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพ ปี 2553

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

รองคณบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

สุดใจ  สันธทรัพย์/ธีระพงศ์  ปัญญาตุ้ย

โทรศัพท์  053-94-4012 ต่อ 108

วิไลพร  ธรรมตา/ลาลิตยา  นุ่มมีศรี/มานพ  เปี้ยพรรณ์

โทรศัพท์  053-94-4089-92 ต่อ 13

 

 

Reserved: องค์ประกอบที่ 5   การบริการทางวิชาการแก่สังคม

 

ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           กระบวนการ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้          :          

การบริการทางวิชาการแก่สังคมเป็นภารกิจหลักอย่างหนึ่งของสถาบัน อุดมศึกษา สถาบันพึงกำหนดหลักเกณฑ์และขั้นตอนการบริการทางวิชาการอย่างเป็นระบบ และมีการจัด โครงสร้างสถาบันเพื่อเป็นกลไกในการขับเคลื่อนระบบดังกล่าว การให้บริการทางวิชาการต้องมีความเชื่อมโยงกับการจัดการเรียนการสอนและการวิจัย และสามารถบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัยอย่างเป็นรูปธรรม

 

ผลการดำเนินงาน       :        

 

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานโดยสรุป

หลักฐาน (electronic)

1. มีระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม และดำเนินการตามระบบที่กำหนด

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรมีการบรรจุแผนบริการวิชาการในพันธกิจของศูนย์วิจัยฯ และดำเนินงานบริการวิชาการโดยมุ่งเน้นการนำความรู้ทางวิชาการจากการบูรณาการงานวิจัย เพื่อนำไปใช้จริงในสังคม ชุมชน และเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนเพื่อให้เกิดศักยภาพของเกษตรกรและองค์กรที่เกี่ยวข้อง โดยผู้รับบริการประกอบด้วย เกษตรกร เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และผู้สนใจ ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ

ภาระงานของบุคลากรศูนย์วิจัยฯ สอดคล้องกับกรอบภาระงานของบุคลากรของคณะเกษตรศาสตร์ ซึ่งต้องมีการนำความรู้ถ่ายทอดสู่การบริการวิชาการ

การประเมินผลของงานบริการวิชาการจะจัดทำในโครงงานบริการวิชาการ เพื่อนำผลไปปรับปรุงการปฏิบัติงาน นอกจากนี้ยังมีการนำเสนองานบริการวิชาการในงานประชุมประจำปี เพื่อระดมความเห็น

5.1.1.1 เว็บไซต์เผยแพร่วิสัยทัศน์

5.1.1.2 แผนปฏิบัติการของ ศวพก

5.1.1.3 ระเบียบการประเมินพนักงาน 2551

5.1.1.4 เวปไชด์งานบริการวิชาการ

2. มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอน

สถานีเกษตรเขตชลประทาน ศูนย์วิจัยฯ เป็นหน่วยงานรองรับการฝึกงานของนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มช. และจากสถาบันการศึกษาภายนอก ซึ่งในการฝึกงานได้มีบรรจุการเรียนรู้ทั้งในสถานีวิจัยและในชุมชน ซึ่งทางศูนย์วิจัยฯ ได้ดำเนินงานบริการวิชาการร่วมด้วย

5.1.2.1 เวปไชด์งานบริการวิชาการของศูนย์วิจัยฯ

3. มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการวิจัย

งานบริการวิชาการของศูนย์ฯ เป็นลักษณะงานที่เชื่อมโยงกับงานวิจัย ซึ่งได้นำผลจากงานวิจัยนำไปต่อยอดสู่งานบริการวิขาการในทั้งระดับเกษตรกร ชุมชน และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ตัวอย่างงานบริการวิชาการที่เชื่อมโยงกับงานวิจัย เช่น การพัฒนาระบบเกษตรปลอดสารพิษในสถานีทดลองเกษตรเขตชลประทาน และพื้นที่เกษตรกร แล้วต่อยอดสู่การอบรม เผยแพร่เพื่อการพัฒนาศักยภาพในการผลิตผักปลอดสารพิษของเกษตรกร และประโยชน์เพื่อการพัฒนาในหน่วยงานระดับอำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน

5.1.3.1 การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่สถาบันวิจัยและพัฒนาบนพื้นที่สูง

5.1.3.2 การนำเสนอผลงานวิจัยสู่ผู้ปฏิบัติงานเพื่อใช้ผลงานวิจัยในการวางแผนการใช้ที่ดินทางการเกษตรระดับจังหวัด สำหรับ จังหวัดลำพูน และ กำแพงเพชร

4. มีการประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย

ศูนย์วิจัยฯ ได้มีการนำเสนอผลงานวิจัย เพื่อการใช้ประโยชน์ในรูปการบริการวิชาการระดับจังหวัด สำหรับจังหวัดลำพูน และได้มีการประเมินผลการบริการวิชาการดังกล่าว

5.1.4.1 การประเมินการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ โครงการ IMGP

5. มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย

ศูนย์วิจัยมีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคม โดยในการฝึกอบรมให้เจ้าหน้าที่สถาบันวิจัยบนพื้นที่สูง พบว่า บางส่วนเจ้าหน้าที่ยังไม่เข้าใจ ในการฝึกอบรมรุ่นที่ 2 จึงได้มีการปรับเนื้อหาให้เข้าใจง่ายขึ้น

5.1.5.1 การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่สถาบันวิจัยและพัฒนาในพื้นที่สูง รุ่น 1 และ รุ่นที่ 2

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ

1 ข้อ

มีการดำเนินการ

2 ข้อ

มีการดำเนินการ  3 ข้อ

มีการดำเนินการ

4 ข้อ

มีการดำเนินการ

5 ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

 

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

5 ข้อ

5 ข้อ

þ บรรลุเป้าหมาย

5

 

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

ประทานทิพย์  กระมล โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 199

พนมศักดิ์  พรหมบุรมย์ โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 235

 

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           กระบวนการ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้          :          

ความสามารถในการให้บริการทางวิชาการในลักษณะห่วงโซ่คุณภาพที่สนองความต้องการและเป็นที่พึ่งของชุมชน ภาครัฐ ภาคเอกชน หน่วยงานวิชาชีพ สังคมได้อย่างมีคุณภาพตามศักยภาพและความพร้อมตามจุดเน้นของสถาบัน พิจารณาได้จาก (1) ประโยชน์หรือผลกระทบของการให้บริการทางวิชาการ (2) การสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก และ (3) ความรู้ที่เกิดจากการให้บริการทางวิชาการและการเผยแพร่ความรู้นั้นทั้งภายในและภายนอกสถาบัน

 

ผลการดำเนินงาน       :        

 

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานโดยสรุป

หลักฐาน (electronic)

1. มีการสำรวจความต้องการของชุมชน หรือภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือหน่วยงานวิชาชีพเพื่อประกอบการกำหนดทิศทางและการจัดทำแผนการบริการทางวิชาการตามจุดเน้นของส่วนงาน

ศูนย์วิจัยฯ ดำเนินงานบริการวิชาการตามแผนงาน ที่สอดคล้องกับความต้องการของเกษตรกร ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่นการดำเนินงานบริการวิชาการด้านการพัฒนาระบบผลิต และตลาดเกษตรปลอดสารพิษ และงานด้านความหลากหลายทางชีวภาพ และการผลิตและการตลาดข้าวอินทรีย์ โดยในการดำเนินงานนั้น ได้มีการสำรวจความต้องการของผู้รับบริการเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เกี่ยวข้องอย่างแท้จริง

5.2.1.1 การทำงานบริการวิชาการของศูนย์ฯ ได้มีการสำรวจความต้องการและปัญหาจากชุมชน (1)  (2)  (3)

5.2.1.2 เวปไชด์งานบริการวิชาการของศูนย์วิจัยฯ

2. มีความร่วมมือด้านบริการทางวิชาการเพื่อการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน หรือภาคเอกชน หรือภาครัฐ หรือหน่วยงานวิชาชีพ

ศูนย์วิจัยฯ มีการดำเนินการบริการวิชาการแก่เกษตรกร เครือข่ายเกษตรกร และหน่วยงาน ทั้งในรูปแบบการให้คำปรึกษา การเป็นวิทยากร การอบรม และการทำโครงการบริการวิชาการร่วมกับองค์กรที่เกี่ยวข้อง และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกลุ่มผู้รับบริการดังกล่าวเพื่อให้การบริการวิชาการมีผลประโยชน์ต่อชุมชนและสังคมอย่างแท้จริง เช่น การร่วมมือกับ หน่วยงานอื่นๆ ในการพัฒนาโครงการอาหารเชียงใหม่ปลอดภัย การพัฒนาระบบการผลิตและการตลาดเกษตรปลอดสารพิษกับกลุ่มเกษตรกรในเครือข่ายเกษตรแม่ปิง

5.2.2.1 การบริการวิชาการด้านมะม่วงคุณภาพเพื่อการส่งออก

5.2.2.2 การบริการวิชาการร่วมกับชุมชนด้านผักปลอดสาร

5.2.2.3 การบริการวิชาการด้านความหลากหลายทางชีวภาพข้าวอินทรีย์

5.2.2.4 ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาคุณภาพบความทางวิชาการ

5.2.2.5 ผลการปฏิบัติงานผลิตผักปลอดสารพิษ-แม่วาง

5.2.2.6 รายงานโครงการผลิตผักปลอดสารพิษ-อาหารปลอดภัยในชุมชน

5.2.2.7 ผลการดำเนินงานขยายผลผลิตผักปลอดสารพิษ

5.2.2.8 อบตบ้านกาด-แม่วาง-หนังสือขอบคุณ

3. มีการประเมินประโยชน์หรือผลกระทบของการให้บริการทางวิชาการต่อสังคม

ศูนย์วิจัยฯ ร่วมกับหน่วยงานที่ร่วมงาน มีการประเมินผลการให้บริการวิชาการ เพื่อใช้ในการปรับปรุงการดำเนินงานบริการวิชาการ นอกจากนี้ยังได้รับการประเมินผลการทำงานจากแหล่งทุนเพื่องานบริการวิชาการ ตัวอย่างงานบริการวิชาการที่บูรณาการกับหน่วยงานภายนอกภายใต้การดำเนินงานหลัก โดยสำนักงานสาธารณสุข ซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก สสส นั้น ได้รับการประเมินโครงการจากแหล่งทุนเพื่อพัฒนาโครงการในทุกปี

นอกจากนั้น การประเมินผลประโยชน์หรือผลกระทบการให้บริการทางวิชาการต่อสังคมได้ทำร่วมกับหน่วยงานใช้ประโยชน์

5.2.3.1 จดหมายเชิญวิทยากรของศูนย์ในการให้บริการเรื่องการผึกอบรม และบริการต่างๆ (1)  (2)  (3)  (4)

4. มีการนำผลการประเมินในข้อ 3 ไปพัฒนาระบบและกลไก หรือกิจกรรมการให้บริการทางวิชาการ

ศูนย์วิจัยฯ มีการนำผลการประเมินการให้บริการวิชาการไปพัฒนาคุณภาพมาตรฐานของการให้บริการ และระบบกลไกการให้บริการ

5.2.4.1 ประเมินผลฝึกอบรมการจัดการลุ่มน้ำรุ่นที่1

5.2.4.2 การประชุมการประเมินผลและปรับปรุงงานบริการวิชาการ 12 พ.ค. 54

5. มีการพัฒนาความรู้ที่ได้จากการให้บริการทางวิชาการและถ่ายทอดความรู้สู่บุคลากรภายในส่วนงานและเผยแพร่สู่สาธารณชน

ศูนย์วิจัยฯ มีการรายงานการดำเนินงานบริการวิชาการในการประชุมประจำปีเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และพัฒนา การบริการวิชาการของศูนย์ ในงานประชุมประจำปี นอกจากนั้น ยังได้กลั่นกรองงานที่ได้ทำในด้านการบริการวิชาการด้านระบบเกษตร ด้านผักปลอดสาร ด้านข้าวอินทรีย์ และมะม่วงคุณภาพส่งออก ที่ทำร่วมกับเกษตรกร นำเสนอในการประชุมระบบเกษตรแห่งชาติครั้งที่ 6 16-18 สิงหาคม 2553 ที่ จังหวัดสงขลา

5.2.5.1 การบริการวิชาการของ ศวพก นำเสนอในการประชุม ประจำปี 2553 ของ ศวพก และงานบริการวิชาการที่เผยแพร่สู่สาธารณชน

5.2.5.2 การนำเสนอความรู้ที่ได้จากการรบริการวิชาการของศูนย์ฯ สู่สาธารณชนในการประชุมวิชาการระบบเกษตรแห่งชาติครั้งที่ 6

 

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ

1 ข้อ

มีการดำเนินการ

2 ข้อ

มีการดำเนินการ  3 ข้อ

มีการดำเนินการ

4 ข้อ

มีการดำเนินการ

5 ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

5 ข้อ

5 ข้อ

þ บรรลุเป้าหมาย

5

 

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

ประทานทิพย์  กระมล โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 199

พนมศักดิ์  พรหมบุรมย์ โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 235

 

ตัวบ่งชี้ที่ 5.3(สมศ8)  การนำความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนหรือการวิจัย (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           ผลลัพธ์ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้        :        

การให้บริการวิชาการ หมายถึง การที่สถาบันการศึกษาซึ่งอยู่ในฐานะที่เป็นที่พึ่งของชุมชนหรือสังคมหรือเป็นแหล่งอ้างอิงทางวิชาการ หรือทำหน้าที่ใดๆ ที่มีผลต่อการพัฒนาชุมชนในด้านวิชาการหรือการพัฒนาความรู้ ตลอดจนความเข้มแข็งประเทศชาติและนานาชาติ การบริการวิชาการเป็นการบริการที่มีค่าตอบแทน และบริการวิชาการให้เปล่า โดยมีการนำความรู้และประสบการณ์มาใช้พัฒนาหรือบูรณาการเข้ากับการเรียนการสอนหรือการวิจัย อาทิ บทความ ตำรา หนังสือ รายวิชาหรือหลักสูตร เป็นต้น

 

ผลการดำเนินงาน       :        

 

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานโดยสรุป

หลักฐาน (electronic)

1. ร้อยละของจำนวนโครงการบริการวิชาการที่ใช้กับการเรียนการสอนต่อจำนวนโครงการบริการวิชาการทั้งหมดไม่น้อยกว่าร้อยละ 10

 

 

2. ร้อยละของจำนวนโครงการบริการวิชาการที่ใช้กับการวิจัยต่อจำนวนโครงการบริการวิชาการทั้งหมดไม่น้อยกว่าร้อยละ 10

 

 

3. ร้อยละของจำนวนโครงการบริการวิชาการที่ใช้กับการขยายผลสู่การปรับปรุงรายวิชาต่อจำนวนโครงการบริการวิชาการทั้งหมดไม่น้อยกว่าร้อยละ 5

 

 

4. ร้อยละของจำนวนโครงการบริการวิชาการที่ใช้กับการขยายผลสู่การเปิดรายวิชาใหม่ต่อจำนวนโครงการบริการวิชาการทั้งหมดไม่น้อยกว่าร้อยละ 5

 

 

5. ร้อยละของจำนวนโครงการบริการวิชาการที่ใช้กับการต่อยอดสู่หนังสือหรือตำราต่อจำนวนโครงการบริการวิชาการทั้งหมดไม่น้อยกว่าร้อยละ 5

 

 

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

ปฏิบัติได้

1 ข้อ

ปฏิบัติได้

2 ข้อ

ปฏิบัติได้

3 ข้อ

ปฏิบัติได้

4 ข้อ

ปฏิบัติได้

5 ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

 

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

5 ข้อ

0 ข้อ

ý บรรลุเป้าหมาย

5

 

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

รองคณบดีฝ่ายประชาสัมพันธ์ บริการวิชาการและกิจการพิเศษ

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

ศศิรินทร์  อธิมา/สุลิตา  กันทะอุโมงค์

โทรศัพท์  053-94-4088

 

ตัวบ่งชี้ที่ 5.4(สมศ9)  การเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           ผลลัพธ์ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้        :        

โครงการที่มีผลต่อการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน หมายถึง โครงการที่สถาบันจัดขึ้นเพื่อพัฒนาชุมชนหรือองค์กรภายนอกและเมื่อดำเนินการแล้วมีผลก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นแก่ชุมชนหรือองค์กรภายนอกในด้านต่างๆ หรือ  ทำให้ชุมชนหรือองค์กรภายนอกสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามศักยภาพของตน

 

ผลการดำเนินงาน       :        

 

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานโดยสรุป

หลักฐาน (electronic)

1. มีการดำเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนหรือองค์กร

 

 

2. บรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80

 

 

3. ชุมชนหรือองค์กรมีผู้นำหรือสมาชิกที่มีการเรียนรู้และดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

ศูนย์วิจัยฯ มีการดำเนินการบริการวิชาการแก่เกษตรกร เครือข่ายเกษตรกร และหน่วยงาน ทั้งในรูปแบบการให้คำปรึกษา การเป็นวิทยากร การอบรม และการทำโครงการบริการวิชาการร่วมกับองค์กรที่เกี่ยวข้อง และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกลุ่มผู้รับบริการดังกล่าวเพื่อให้การบริการวิชาการมีผลประโยชน์ต่อชุมชนและสังคมอย่างแท้จริง เช่น การพัฒนาระบบการผลิตและการตลาดเกษตรปลอดสารพิษกับกลุ่มเกษตรกรให้แก่ชุมชน

5.4.3.1 ผลการปฏิบัติงานผลิตผักปลอดสารพิษ-แม่วาง

5.4.3.2 รายงานโครงการผลิตผักปลอดสารพิษ-อาหารปลอดภัยในชุมชน

5.4.3.3 ผลการดำเนินงานขยายผลผลิตผักปลอดสารพิษ

5.4.3.4 อบตบ้านกาด-แม่วาง-หนังสือขอบคุณ

4. ชุมชนหรือองค์กรสร้างกลไกที่มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน โดยคงอัตลักษณ์และวัฒนธรรมของชุมชนหรือองค์กร

ซึ่งงานบริการวิชาการด้านการผลิตผักปลอดสารพิษข้างต้นนั้นได้มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และมีการขยายผลไปยังเครือข่ายผู้ผลิตและชุมชนต่างๆ

5.4.4.1 ผลการปฏิบัติงานผลิตผักปลอดสารพิษ-แม่วาง

5.4.4.2 รายงานโครงการผลิตผักปลอดสารพิษ-อาหารปลอดภัยในชุมชน

5.4.4.3 ผลการดำเนินงานขยายผลผลิตผักปลอดสารพิษ

5.4.4.4 อบตบ้านกาด-แม่วาง-หนังสือขอบคุณ

5. มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์สร้างคุณค่าต่อสังคม หรือชุมชน/องค์กรมีความเข้มแข็ง

ทำให้กลุ่มเกษตรกรสามารถนำองค์ความรู้ไปปฏิบัติจนสำเร็จ  เสริมสร้างรายได้  ทำให้ผู้บริโภคได้บริโภคอาหารปลอดภัย ก่อให้เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อสังคม  และสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชน

5.5.3.1 ผลการปฏิบัติงานผลิตผักปลอดสารพิษ-แม่วาง

5.5.3.2 รายงานโครงการผลิตผักปลอดสารพิษ-อาหารปลอดภัยในชุมชน

5.5.3.3 ผลการดำเนินงานขยายผลผลิตผักปลอดสารพิษ

5.5.3.4 อบตบ้านกาด-แม่วาง-หนังสือขอบคุณ

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

ปฏิบัติได้

1 ข้อ

ปฏิบัติได้

2 ข้อ

ปฏิบัติได้

3 ข้อ

ปฏิบัติได้

4 ข้อ

ปฏิบัติได้

5 ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

5 ข้อ

0 ข้อ

ý บรรลุเป้าหมาย

 

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

รองคณบดีฝ่ายประชาสัมพันธ์ บริการวิชาการและกิจการพิเศษ

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

ศศิรินทร์  อธิมา/สุลิตา  กันทะอุโมงค์

โทรศัพท์  053-94-4088

 

ตัวบ่งชี้ที่ 5.5(สมศ18)  ผลการชี้นำ ป้องกัน หรือแก้ปัญหาของสังคมในด้านต่างๆ (ปีการศึกษา)

(ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           ผลลัพธ์ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้          :          

ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม

ตัวบ่งชี้ที่ประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษา โดยสถานศึกษาเป็นผู้กำหนดแนวทางพัฒนาเพื่อร่วมกันชี้แนะป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคมตามนโยบายของรัฐ ซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาและปัญหาสังคมที่เปลี่ยนไป โดยมีเป้าหมายที่แสดงถึงความเป็นผู้ชี้นำสังคมและแก้ปัญหาสังคมของสถาบัน อุดมศึกษาในการชี้นำเรื่องต่างๆ อาทิ การส่งเสริมและสืบสานโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดำริ โครงการรักชาติ การบำรุงศาสนาและเทิดทูนพระมหากษัตริย์ สุขภาพ ค่านิยมและจิตสาธารณะ ความคิดสร้างสรรค์ ผู้ด้อยโอกาสและผู้สูงอายุ นโยบายรัฐบาล เศรษฐกิจ การพร้อมรับการเป็นสมาชิกสังคมอาเซียน พลังงานสิ่งแวดล้อม อุบัติภัย สิ่งเสพติด ความฟุ่มเฟือย การแก้ปัญหาความขัดแย้ง สร้างสังคมสันติสุขและความปรองดอง ตลอดจนน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็นสถานศึกษาพอเพียงแบบอย่าง ฯลฯ

สถาบันอุดมศึกษาเลือกดำเนินการ ๒ เรื่อง จากประเด็นเรื่องที่ชี้นำหรือแก้ปัญหาสังคมในด้านต่างๆ อาทิ การส่งเสริมและสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ความรักชาติ บำรุงศาสนาและเทิดทูนพระมหากษัตริย์ สุขภาพ ค่านิยม จิตสาธารณะ ความคิดสร้างสรรค์ ผู้ด้อยโอกาสและผู้สูงอายุ นโยบายรัฐบาล เศรษฐกิจ การพร้อมรับการเป็นสมาชิกสังคมอาเซียน พลังงานสิ่งแวดล้อม อุบัติภัย สิ่งเสพติด ความฟุ่มเฟือย การแก้ปัญหาความขัดแย้ง สร้างสังคมสันติสุขและความปรองดอง ตลอดจนการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็นสถานศึกษาพอเพียงแบบอย่าง เป็นต้น

ทั้งนี้ ประเด็นเรื่องที่ชี้นำหรือแก้ปัญหาสังคมในด้านต่างๆ ที่สถาบัน อุดมศึกษาเลือกดำเนินการในแต่ละเรื่องนั้น ต้องผ่านการเห็นชอบจากสภาสถาบัน

 

ผลการดำเนินงาน       :        

 

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานโดยสรุป

หลักฐาน (electronic)

1. มีการดำเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA)

 

 

2. บรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80

 

 


 

3. มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อสังคม

3.1 ศวพก. ได้ดำเนินงานวิจัยที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับของหน่วยงานภายนอกในประเทศ สามารถนำผลลัพธ์ไปใช้งานให้เกิดประโยชน์แก่หน่วยงานต่างๆ เช่น ระบบสนับสนุนการตัดสินในการวางแผนการใช้ที่ดิน/ทรัพยากรการเกษตร (รสทก)

3.2 ศวพก. ได้วิจัย ส่งเสริม และสนับสนุนให้มีการสร้างเครือข่ายผู้ผลิตและผู้บริโภคผักปลอดสารพิษ จนเป็นที่ยอมรับมนระดับจังหวัดและระดับประเทศ โดยกระทรวงพาณิชย์ได้จัดตั้งให้เป็น Farm outlet อาหารปลอดภัยอย่างเป็นทางการ  นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่เรียนรู้ด้านการผลิตผักปลอดสารพิษ สำหรับชุมชน และหน่วยงานต่างๆ

5.5.3.1-1 จัดฝึกอบรมให้กับจังหวัดกาฬสินธุ์

5.5.3.1-2 สนับสนุนโปรแกรมและฝึกอบรมให้กับ อบจ. เชียงใหม่

5.5.3.2-1 การพัฒนาศูนย์จำหน่ายสินค้าเกษตรปลอดพิษ

5.5.3.2-2 การติดตามการดำเนินงานศูนย์จำหน่ายสินค้าเกษตรชุมชนปลอดสารพิษ

5.5.3.2-3 ผลการปฏิบัติงานผลิตผักปลอดสารพิษ-แม่วาง

5.5.3.2-4  รายงานโครงการผลิตผักปลอดสารพิษ-อาหารปลอดภัยในชุมชน

5.5.3.2-5 ผลการดำเนินงานขยายผลผลิตผักปลอดสารพิษ

5.5.3.2-6 อบตบ้านกาด-แม่วาง-หนังสือขอบคุณ

5.5.3.2-7 ข่าวประชาสัมพันธ์การดูงาน และบริการวิชาการด้านการผลิตผักปลอดสารพิษ

 

4. ได้รับการยกย่องระดับชาติ

4.1 ศวพก. ได้ดำเนินงานวิจัยที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับของหน่วยงานภายนอกในประเทศ สามารถนำผลลัพธ์ไปใช้งานให้เกิดประโยชน์แก่หน่วยงานต่างๆ เช่น ระบบสนับสนุนการตัดสินในการวางแผนการใช้ที่ดิน/ทรัพยากรการเกษตร (รสทก)

4.2 ศวพก. ได้วิจัย ส่งเสริม และสนับสนุนให้มีการสร้างเครือข่ายผู้ผลิตและผู้บริโภคผักปลอดสารพิษ จนเป็นที่ยอมรับมนระดับจังหวัดและระดับประเทศ โดยกระทรวงพาณิชย์ได้จัดตั้งให้เป็น Farm outlet อาหารปลอดภัยอย่างเป็นทางการ

5.5.4.1-1 จัดฝึกอบรม รสทก. ให้กับจังหวัดกาฬสินธุ์

5.5.4.1-2 สนับสนุนโปรแกรม รสทก. และฝึกอบรมให้กับ อบจ. เชียงใหม่

5.5.4.2-1 การพัฒนาศูนย์จำหน่ายสินค้าเกษตรปลอดพิษ

5.5.4.2-2 การติดตามการดำเนินงานศูนย์จำหน่ายสินค้าเกษตรชุมชนปลอดสารพิษ

5. ได้รับการยกย่องระดับนานาชาติ

5.1 ศวพก ได้สร้างเครือข่ายและดำเนินงานวิจัยในระดับนานาชาติ จนเป็นที่ยอมรับจากองค์กรวิจัยระดับสากล เช่น ICASA และ ICRAF

5.2 จากผลงานวิจัยด้านเกษตรเชิงระบบของ ศวพก. ทางสำนักงานพัฒนาเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศ (สพร.) ได้มอบหมายให้จัดการฝึกอบรมระดับนานาชาติในด้าน Diversified Farming Practices Using Participatory Approach for Food Security and Safety

5.3.5.1-1 ได้รับเชิญเป็น Vice Chair of the Board, ICRAF

5.3.5.1-2 กรรมการอำนวยการ "สมาพันธ์นานาชาติสำหรับการใช้เครื่องมือระบบเกษตร" (ICASA)

5.3.5.2. การฝึกอบรมนานาชาติเรื่อง Diversified Farming Practices Using Participatory Approach for Food Security and Safety

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

ปฏิบัติได้

1 ข้อ

ปฏิบัติได้

2 ข้อ

ปฏิบัติได้

3 ข้อ

ปฏิบัติได้

4 ข้อ

ปฏิบัติได้

5 ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

5 ข้อ

3 ข้อ

þ  บรรลุเป้าหมาย

3

 

 

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

รองคณบดีฝ่ายประชาสัมพันธ์ บริการวิชาการและกิจการพิเศษ

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

ศศิรินทร์  อธิมา/สุลิตา  กันทะอุโมงค์

โทรศัพท์  053-94-4088

 

 

Reserved: องค์ประกอบที่ 6  การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

 

ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           กระบวนการ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้          :          

สถาบันอุดมศึกษาต้องมีนโยบาย แผนงาน โครงสร้าง และการบริหารจัดการงานทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมทั้งการอนุรักษ์ ฟื้นฟู สืบสาน เผยแพร่วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นตามจุดเน้นของสถาบันอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีการบูรณาการการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา

 

ผลการดำเนินงาน       :        

 

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานโดยสรุป

หลักฐาน (electronic)

1. มีระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม และดำเนินการตามระบบที่กำหนด

ศวพก. ได้ให้ความสำคัญในด้านการทำนุบำรุงศิลป

วัฒนธรรม ตามพันธกิจของมหาวิทยาลัยและของคณะเกษตรศาสตร์ โดยได้กำหนดไว้ในแผนการปฏิบัติงานประจำปี พร้อมกับจัดสรรงบประมาณประจำปีสนับสนุนงานดังกล่าว

6.1.1.1 คณะกรรมการด้านการทำนุบำรุงศิลปะ และวัฒนธรรม (1)  (2)  (3)  (4)

6.1.1.2 แผนการปฏิบัติงานประจำปี 2554

2. มีการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา

 มีการบูรณการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะ วัฒนธรรมกับการเรียนการสอนโดยมีโครงการด้านศิลปวัฒนธรรมกับนักศึกษาไทยและต่างชาติในโอกาสที่เหมาะสม เช่น ในช่วงปีใหม่ สงกรานต์ เป็นต้นในการประชุมประจำปีของศูนย์ฯ ก็จะให้นักศึกษาไทย และต่างชาติมีส่วนร่วม

6.1.2.1 โครงการบูรณการงานด้านศิลปะ วัฒนธรรมและนักศึกษา และ ผลการประเมินโครงการ

3. มีการเผยแพร่กิจกรรมหรือการบริการด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมต่อสาธารณชน

ศวพก. ได้ดำเนินการ

เผยแพร่กิจกรรมด้านศิลปะ

วัฒนธรรม เชื่อมโยงกับสิ่ง

แวดล้อม และชุมชนท้องถิ่น

6.1.3.1 ข่าวประชาสัมพันธ์ของ ศวพก. ดังมีปรากฏอยู่ในระบบสารสนเทศภายในหน่วยงาน

6.1.3.2 ตลาดนัดผักปลอดสารพิษของ ศวพก. ที่ได้ดำเนินการทุกวันพุธและวันศุกร์ของสัปดาห์

 

 

 

 

4. มีการประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม กับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา

ศวพก. ร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์ได้มีการประเมินผลความสำเร็จของการบูรณการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา

6.1.4.1 คณะกรรมการประเมินผลการจัดกิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม คณะเกษตรศาสตร์

5. มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและ/หรือกิจกรรมนักศึกษา

ศวพก. ได้ดำเนินการร่วมกับคณะฯ มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและ/หรือกิจกรรมนักศึกษา

 

 

 

 

 

6. มีการกำหนดหรือสร้างมาตรฐานคุณภาพด้านศิลปะและวัฒนธรรมและมีผลงานเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ

 

 

 

 

 

 

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ

1 ข้อ

มีการดำเนินการ

2 ข้อ

มีการดำเนินการ  3 ข้อ

มีการดำเนินการ

4 ข้อ

มีการดำเนินการ

5 หรือ 6 ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

6 ข้อ

5 ข้อ

þ บรรลุเป้าหมาย

5

 

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

ประทาทิพย์  กระมล

โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 199

 

ตัวบ่งชี้ที่ 6.2(สมศ10)  การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           ผลลัพธ์ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้        :        

การส่งเสริมและสนับสนุน หมายถึง การให้ความสำคัญและการขยายขอบเขตในโครงการหรือกิจกรรมให้ดีมีคุณภาพอย่างสมบูรณ์ขึ้นด้วยปัจจัยต่างๆ เช่น งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ อาคารสถานที่ บุคลากร ความรู้ โอกาสและกำลังใจ เพื่อให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่มีความเป็นไปได้อย่างเป็นรูปธรรม สามารถจะดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง มั่นคง และยั่งยืน

ศิลปะ คือ งานสร้างสรรค์ที่ส่งเสริมสร้างความสุนทรีย์ ความงาม และความสุข แก่ผู้คน สภาพแวดล้อม และสังคม เพื่อพัฒนาการยกระดับความมีรสนิยม ความสุนทรีย์ เข้าใจคุณค่าและความสำคัญของศิลปะ ตลอดจนเป็นแนวทางในการพัฒนาส่งเสริมการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข

วัฒนธรรม หมายถึง ความเจริญงอกงามของมวลมนุษย์ที่มีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง เช่น เรื่องความคิด ความรู้สึก ความเชื่อ ซึ่งก่อให้เกิดเป็นวัฒนธรรม โดยสามารถเห็นได้จากพฤติกรรมในวิถีชีวิตและสังคม รวมทั้งผลที่เกิดจากกิจกรรมหรือผลผลิตกิจกรรมของมนุษย์ วัฒนธรรมมีลักษณะเฉพาะและมีลักษณะสากล เปลี่ยนแปลงตามสมัยนิยม วัฒนธรรมปัจจุบันที่ดีควรมีความสอดคล้องกับความเป็นสากล แต่มีรากฐานของวัฒนธรรมตนเองที่มีคุณค่า สำหรับวัฒนธรรมในสถาบันอุดมศึกษา หมายถึง วัฒนธรรมที่แสดงความเป็นอุดมศึกษาที่ถือเป็นแบบอย่างที่ดีต่อสังคม มีความเจริญงอกงามทางปัญญา ความรู้ ความคิด ทัศนคติ และจิตใจ การมีน้ำใจเสียสละและการมีส่วนร่วมกับสังคม สามารถเป็นผู้นำที่ดีและเป็นที่พึ่งของสังคม มีวัฒนธรรมในวิถีชีวิตมหาวิทยาลัยที่น่าศรัทธาเป็นที่ยอมรับ มีบทบาทต่อการปกป้องวัฒนธรรมที่ดีงามของไทย และพัฒนาแนวทางการดำรงชีวิตท่ามกลางกระแสวัฒนธรรมสากลได้เหมาะสมอย่างฉลาดรู้

 

ผลการดำเนินงาน       :

 

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานโดยสรุป

หลักฐาน (electronic)

1. มีการดำเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA)

 มีการดำเนินการตามวงจร PDCA

 

2. บรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80

 มีการบรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80

6.2 (สมศ) การบรรลุตามแผนไม่ต่ำร้อยละ 80

3. มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อสังคม

 มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อสังคม

 

4. ได้รับการยกย่องระดับชาติ

 

 

5. ได้รับการยกย่องระดับนานาชาติ

 

 

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

ปฏิบัติได้

1 ข้อ

ปฏิบัติได้

2 ข้อ

ปฏิบัติได้

3 ข้อ

ปฏิบัติได้

4 ข้อ

ปฏิบัติได้

5 ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

 

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

5 ข้อ

3 ข้อ

þ บรรลุเป้าหมาย

3

 

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

รองคณบดีฝ่ายบริหารและพัฒนา
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริหาร อาคารสถานที่ เทคโนโลยีสารสนเทศและวิทยบริการ
เลขานุการคณะ

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

สุดใจ  สันธทรัพย์

โทรศัพท์  053-94-4012 ต่อ 108

จงจิตต์  รุ่งเรืองศรี/วนิดา ทองเงา

โทรศัพท์  053-94-4012 ต่อ 105

 

ตัวบ่งชี้ที่ 6.3(สมศ11)  การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           กระบวนการ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้        :        

การพัฒนาสุนทรียภาพ หมายถึง การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอย่างมีแผนที่เป็นระบบเกี่ยวกับความงามทางศิลปะและวัฒนธรรม ที่มีผลกระทบต่อบุคคล สถาบัน สภาพแวดล้อม และสังคมในแนวทางที่ดีขึ้น โดยมีเป้าหมายที่ชัดเจน และเป็นที่ยอมรับร่วมกันได้ ผลการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือสร้างสิ่งใหม่ต้องไม่เป็นการทำลายคุณค่าทางสุนทรีย์ของศิลปะและวัฒนธรรมเดิม การพัฒนาเชิงวัฒนธรรมสามารถสร้างวัฒนธรรมใหม่ที่สอดคล้องและเหมาะสมกับสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงและมีนวัตกรรมใหม่ ทั้งทางเทคโนโลยี ระบบสังคม และความนิยม เพื่อให้อยู่ร่วมกันได้อย่างเข้าใจมีความเจริญก้าวหน้าอย่างสันติสุข

สุนทรียะทางศิลปะและวัฒนธรรม หมายถึง คุณค่าทางความงามของศิลปะและวัฒนธรรม ที่ส่งผลต่อการรับรู้และความรู้สึก สามารถจรรโลงจิตใจให้มีความสุข มีรสนิยม ก่อให้เกิดวิถีชีวิตมนุษย์ ที่งดงาม สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมที่เข้าใจและผูกพัน ตลอดจนการรับรู้ถึงคุณค่าที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมของศิลปะและวัฒนธรรมเชิงประวัติศาสตร์เพื่อการดำรงรักษ์สืบต่อไป

 

ผลการดำเนินงาน       :        

 

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานโดยสรุป

หลักฐาน (electronic)

1. การมีส่วนร่วมของบุคลากรในสถาบันที่ก่อให้เกิดวัฒนธรรมที่ดี

ศูนย์ฯ ได้สร้างการมีส่วนร่วมของบุคลากรที่ก่อนให้เกิดวัฒนธรรมที่ดี

 

2. อาคารสถานที่ สะอาด และตกแต่งอย่างมีคุณค่าทางสุนทรีย์

ศูนย์ได้มีอาคารสถานที่ สะอาด และตกแต่งอย่างมีคุณค่าทางสุนทรีย์

6.3.2.1 การปรับปรุงและตกแต่งอาคารสถานที่

3. ปรับแต่งและรักษาภูมิทัศน์ให้สวยงามตามธรรมชาติ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ศูนย์ได้ปรับแต่งและรักษาภูมิทัศน์ให้สวยงามตามธรรมชาติ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

 6.3.3.1 การปรับแต่งและนักษาภูมิทัศน์ของ ศวพก.

4. มีพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่เอื้อและส่งเสริมต่อการจัดกิจกรรม และมีการจัดกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอ

ศูนย์มีลานจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรมที่เอื้อและส่งเสริมต่อการจัดกิจกรรม และมีการจัดกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอ

 6.3.4.1  สถานที่และลานกิจกรรมทางวัฒนธรรม

5. ระดับความพึงพอใจของบุคลากรและนักศึกษาไม่ต่ำกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

 

 

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

ปฏิบัติได้

1 ข้อ

ปฏิบัติได้

2 ข้อ

ปฏิบัติได้

3 ข้อ

ปฏิบัติได้

4 ข้อ

ปฏิบัติได้

5 ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

 

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

5 ข้อ

4 ข้อ

þ บรรลุเป้าหมาย

4

 

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

รองคณบดีฝ่ายบริหารและพัฒนา
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริหาร อาคารสถานที่ เทคโนโลยีสารสนเทศและวิทยบริการ
เลขานุการคณะ

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

สุดใจ  สันธทรัพย์

โทรศัพท์  053-94-4012 ต่อ 108

จงจิตต์  รุ่งเรืองศรี/วนิดา ทองเงา

โทรศัพท์  053-94-4012 ต่อ 105

 

 

Reserved: องค์ประกอบที่ 7  การบริหารและการจัดการ

 

ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ภาวะผู้นำของคณะกรรมการบริหารประจำส่วนงานและผู้บริหารทุกระดับของส่วนงาน (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           กระบวนการ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้          :          

ปัจจัยสนับสนุนที่สำคัญต่อการเจริญก้าวหน้าของสถาบันอุดมศึกษา คือสภาสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบันนั้นๆ หากสภาสถาบันและผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ เป็นผู้นำที่ดี มีธรรมาภิบาล รับผิดชอบต่อสังคม รักความก้าวหน้า ดูแลบุคลากรอย่างดี เปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหาร มีความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหา และกำกับดูแล ติดตามผลการดำเนินงานของสถาบันไปในทิศทางที่ถูกต้อง จะทำให้สถาบันเจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็ว

 

ผลการดำเนินงาน       :        

 

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานโดยสรุป

หลักฐาน (electronic)

1. คณะกรรมการบริหารประจำส่วนงานปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนดครบถ้วนและมีการประเมินตนเองตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดล่วงหน้า

คณะกรรมการอำนวยการของคณะเกษตรศาสตร์ ปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฏหมายกำหนดครบถ้วน และได้กำกับดูแลคณะเกษตรศาสตร์ในภาพรวม โดยมีศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรเป็นหน่วยงานภายในของคณะเกษตรศาสตร์

7.1.1.1 กรรมการบริหาร ศวพก.

 

 

 

 

2. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ กำหนดทิศทางการดำเนินงาน และสามารถถ่ายทอดไปยังบุคลากรทุกระดับ มีความสามารถในการวางแผนกลยุทธ์ มีการนำข้อมูลสารสนเทศเป็นฐานในการปฏิบัติงานและพัฒนาส่วนงาน

ผู้บริหารศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร มีส่วนร่วมกันในการกำหนดนโยบายและจัดทำวิสัยทัศน์ พันธกิจ แผนกลยุทธ์ และนำสู่การปฏิบัติที่เป็นระบบชัดเจน โดยมีการกำหนดตัวบ่งชี้คุณภาพ (KPI) ของงานที่ปฏิบัติ คณะเกษตรศาสตร์ได้มีการถ่ายทอดนโยบาย วิสัยทัศน์ และแผนกลยุทธ์ให้ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรและบุคลากรทราบและมีความเข้าใจร่วมกัน

7.1.2.1 การประชุมจัดทำวิสัยทัศน์ พนธกิจ แผนกลยุทธ ศวพก. ปี 2552

7.1.2.2 ผลสรุปการระดมความคิดเห็นเพื่อการวางแผนกลยุทธ

 

 

มีจัดทำระบบฐานข้อมูลของศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตให้ทันสมัย นำมาใช้ในการติดตามผลการบริหารสารสนเทศ มีการรายงานผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้คุณภาพ (KPI) ที่กำหนดไว้ในแผนกลยุทธ์อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง และนำข้อมูลที่ได้มาใช้เพื่อการตัดสินใจปรับแผนกลยุทธ์ได้อย่างทันการ

 

3. ผู้บริหารมีการกำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามที่มอบหมาย รวมทั้งสามารถสื่อสารแผนและผลการดำเนินงานของส่วนงานไปยังบุคลากรในส่วนงาน

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร มีการกำกับ ติดตามผลการนำนโยบายและแผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติในการประชุมผู้บริหารอย่างน้อย ปีละ 1-2 ครั้ง เพื่อทบทวนเป้าหมาย หรือปรับแผนการดำเนินงานให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ยิ่งขึ้น พร้อมทั้งสร้างกลไกภายในเพื่อสื่อสารแผนการดำเนินงานไปยังบุคลากรกลุ่มเป้าหมายทุกระดับที่เกี่ยวข้อง

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร มีการประเมินผลการดำเนินงานที่สำคัญตามภารกิจของสถาบันอย่างครบถ้วน รวมทั้งการติดตามผลสัมฤทธิ์ ปีละ 2 ครั้ง เพื่อทบทวนเป้าหมาย หรือปรับแผนการดำเนินงานในรอบปีถัดไป

7.1.3.1 รายงานการติดตามแผนกลยุทธ

 

 

4. ผู้บริหารสนับสนุนให้บุคลากรในส่วนงานมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ให้อำนาจในการตัดสินใจแก่บุคลากรตามความเหมาะสม

ผู้บริหารศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรสนับสนุนให้บุคลากรในสถาบันมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการผ่านทางการตั้งคณะกรรมการต่างๆ และผ่านทางการมอบหมายงาน โดยให้อำนาจในการตัดสินใจแก่บุคลากรตามความเหมาะสม

 

ผู้บริหารศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรได้ดำเนินการปรับลดขั้นตอนกระบวนการบริหารจัดการโดยการมอบอำนาจในการตัดสินใจแก่ผู้บริหารหรือผู้ปฏิบัติระดับถัดไป เพื่อเพิ่มความคล่องตัว พร้อมกับมีการกำกับ และตรวจสอบเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าระบบการทำงานมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล คุ้มค่า และมีความเสี่ยงอยู่ระดับในที่ยอมรับได้

ผู้บริหารมีการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรม เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจต่อบุคลากรเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง เช่น การส่งเสริมให้ได้รางวัล บุคลากรดีเด่น การส่งเสริมให้ไปร่วมการฝึกอบรมต่างๆ

7.1.4.1 หนังสือแต่งตั้งให้เป็นกรรมการต่างๆ

7.1.4.2 หนังสือการส่งบุคลากรให้ไปฝึกอบรมต่างๆ

7.1.4.3 หนังสือการส่งบุคลากรให้ได้รับรางวัล (1)  (2)

 

 

 

 

 

5. ผู้บริหารถ่ายทอดความรู้และส่งเสริมพัฒนาผู้ร่วมงาน เพื่อให้สามารถทำงานบรรลุวัตถุประสงค์ของส่วนงานเต็มตามศักยภาพ

ผู้บริหารศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร ส่งเสริมการนำหลักการจัดการความรู้มาใช้ เพื่อการแลกเปลี่ยนความรู้ และถ่ายทอดประสบการณ์ร่วมกันระหว่างผู้ปฏิบัติงาน  ให้บุคลการไปเป็นกรรมการร่วมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฎิบัติ (community of practices)

7.1.5.1 หนังสือส่งบุคลากรไปเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการร่วมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติ

7.1.5.1-1 โครงการสร้างแผนที่ความคิดด้วยโปรแกรม Free Mind และการสร้างผังการปฏิบัติงานด้วยโปรแกรม Visio

7.1.5.1-2 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กรสมัยใหม่โดยใช้ Rule Based Management

7.1.5.1-3 การจัดทำข้อมูลประกันสังคม ด้านงานทะเบียน และ เงินสมทบ

7.1.5.1-4 การฝึกอบรมด้านอนุรักษ์ดินและปุ๋ย

7.1.5.1-5 โครงการพัฒนาบุคลากร ศึกษาดูงานเกษตรปลอดสาร อ. วังน้ำเขียว จ. นครราชสีมา 6-8 กค 2553

7.1.5.2 การเข้าร่วมประชุมและเสนอผลงานในการประชุมวิชาการดินและปุ๋ยแห่งชาติครั้งที่ 2

 

 

6. ผู้บริหารบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล โดยคำนึงถึงประโยชน์ของส่วนงานและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ผู้บริหารศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรยึดหลักธรรมาภิบาลเป็นเครื่องมือในการบริหารการดำเนินงานของศูนย์ฯให้ไปสู่ทิศทางที่กำหนดร่วมกันระหว่างผู้บริหารคณะเกษตรศาสตร์และคณะกรรมการอำนวยการของคณะเกษตรศาสตร์โดยให้สอดคล้องทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศและทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก

 

7.1.6.1 การประชุมประจำปี ศวพก 2553

7.1.6.2 ผลสรุปการประชุมประจำปี ศวพก 2553

7.1.6.3 รายงานการบริหารความเสี่ยง ศวพก 2553 ( 1)  (2)

7.1.6.4 รายงานการประเมินตนเอง ศวพก 2553-54

7.1.6.5 รายงานประจำปี ศวพก. 2551 และ 2552

ผู้บริหารศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรมีการดำเนินงานภายใต้หลักธรรมาภิบาลโดยเฉพาะในประเด็นการปกป้องผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในเรื่องคุณภาพทางวิชาการและเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงาน

ผู้บริหารศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรจัดให้มีการเปิดเผยรายงานสรุปผลการทำงานประจำปีของศูนย์และรายงานการเงินของศูนย์ฯ เสนอต่อกรรมการประจำคณะฯ

ผู้บริหารศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรมีการติดตามผลการควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง และการตรวจสอบภายใน และเสนอรายงานให้คณะเกษตรศาสตร์ประจำปี

 

 

 

 

 

7. คณะกรรมการอำนวยการประจำส่วนงานประเมินผลการบริหารงานของส่วนงานและผู้บริหารนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบริหารงานอย่างเป็นรูปธรรม

การประเมินศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร เป็นการประเมินร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์ ซึ่งดำเนินการโดยสภามหาวิทยาลัย

7.1.7.1 การตรวจประกันคุณภาพโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปี 2553

 

 

 

 

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ

1 ข้อ

มีการดำเนินการ

2 หรือ 3 ข้อ

มีการดำเนินการ  4 หรือ 5 ข้อ

มีการดำเนินการ

6  ข้อ

มีการดำเนินการ 7 ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :

 

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

7 ข้อ

7 ข้อ

þ บรรลุเป้าหมาย

5

 

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

รศ.ดร.เบญจพรรณ  เอกะสิงห์ โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 240

ผศ.ดร.ชาญชัย แสงชโยสวัสดิ์  โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 237

 

ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 การพัฒนาส่วนงานสู่สถาบันเรียนรู้ (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           กระบวนการ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้          :          

มาตรฐานการอุดมศึกษาข้อที่ 3 กำหนดให้สถาบันมีการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้  ซึ่งต้องมีการจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่สถาบันแห่งการเรียนรู้ โดยมีการรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในสถาบันซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสารมาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในสถาบันสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้สถาบันอุดมศึกษามีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด กระบวนการในการบริหารจัดการความรู้ในสถาบัน ประกอบด้วย การระบุความรู้ การคัดเลือก การรวบรวม การจัดเก็บความรู้ การเข้าถึงข้อมูล และการแลกเปลี่ยนความรู้ทั้งภายในและภายนอกสถาบัน การสร้างบรรยากาศและวัฒนธรรมการเรียนรู้ภายในสถาบัน การกำหนดแนววิธีปฏิบัติงาน ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการความรู้ในสถาบันให้ดียิ่งขึ้น

 

ผลการดำเนินงาน       :        

 

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานโดยสรุป

หลักฐาน (electronic)

1. มีการกำหนดประเด็นความรู้และเป้าหมายของการจัดการความรู้ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของส่วนงานอย่างน้อยครอบคลุมพันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัย

 

 

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ได้ร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ เพื่อมุ่งสู่อัตลักษณ์ที่ต้องการเพื่อนำมาใช้ในการกำหนดแผนยุทธศาสตร์หรือแผนปฏิบัติการในการจัดการความรู้ให้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของสถาบัน ครอบคลุมพันธกิจด้านการผลิตบัณฑิต ด้านการวิจัย และ การบริการวิชาการ

7.2.1.1 การประชุมกรรมการคณะ (1)

7.2.1.2 การประชุมกรรมการคณะ (2)

 

 

2. กำหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนาความรู้และทักษะด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัยอย่างชัดเจนตามประเด็นความรู้ที่กำหนดในข้อ 1

 

7.2.2.1 บุคลากรพัฒนาความรู้ (1)  (2)  (3)  (4)

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรได้ร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์กำหนดกลุ่มเป้าหมายที่จะได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะต่างๆ ตามประเด็นที่ได้กำหนดในข้อ 1

 

3. มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีตามประเด็นความรู้ที่กำหนดในข้อ 1 และเผยแพร่ไปสู่บุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรได้ร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีตามประเด็นความรู้ที่กำหนดในข้อ 1 และเผยแพร่ไปสู่บุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรได้ร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์ส่งเสริมให้มีบรรยากาศและวัฒนธรรมการเรียนรู้ภายในคณะฯ ส่งเสริมให้มีชุมชนนักปฏิบัติและเครือข่ายด้านการจัดการความรู้ ทั้งระหว่างหน่วยงานภายในและภายนอก เพื่อให้เกิดวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดสรรทรัพยากรอย่างเหมาะสม ทั้งด้านงบประมาณ เวลา สถานที่

7.2.3.1 การร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประเด็นต่างๆ  เช่น การทำงบประมาณผ่านระบบ e budget, การคิดเชิงบวก, การทำ มคอ 3, TQA เป็นต้น (1)  (2)

7.2.3.2 การส่งบุคคลากรเข้าร่วมการฝึกอบรมการวางแผนทางการเงิน

7.2.3.3 โครงการบริหารจัดการองค์ความรู้

7.2.3.4 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ทำร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์

 

 

4. มีการรวบรวมความรู้ตามประเด็นความรู้ที่กำหนดในข้อ 1 ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคลและแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็นระบบโดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร (explicit knowledge)

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรได้ร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์มีการกำหนดผู้รับผิดชอบในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคลและแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็นระบบ เป็นหมวดหมู่เพื่อให้บุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเพิ่มพูนความรู้ความสามารถเข้าถึงแนวปฏิบัติที่ดีได้ง่าย

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรได้ร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์มีการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ และเผยแพร่ความรู้ในองค์กร ให้เกิดความประหยัดและเกิดประโยชน์สูงสุด

7.2.4.1 การพัฒนา website ให้เป็นแหล่งเรียนรู้และมีการจัดเก็บอย่างเป็นระบบโดยเฉพาะในด้านเกษตรศาสตร์เชิงระบบ

 

 

 

 

5. มีการนำความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ในปีการศึกษาปัจจุบันหรือปีการศึกษาที่ผ่านมา ที่เป็นลายลักษณ์อักษร (explicit knowledge) และจากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรได้ร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์มีการนำความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ในปีการศึกษาปัจจุบันหรือปีการศึกษาที่ผ่านมา ที่เป็นลายลักษณ์อักษร (explicit knowledge) และจากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง

7.2.5.1 การนำความรู้จาก KM มาเป็นลายลักษณ์อักษร (explicit knowledge) และจากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง โดยได้ทำไว้เป็น powerpoint ใน web ของ ศวพก. (1)  (2)

 

 

 

 

 

 

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ

1 ข้อ

มีการดำเนินการ

2   ข้อ

มีการดำเนินการ  3 ข้อ

มีการดำเนินการ

4  ข้อ

มีการดำเนินการ 5 ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

 

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

5 ข้อ

5 ข้อ

þ บรรลุเป้าหมาย

5

 

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

รศ.ดร.เบญจพรรณ  เอกะสิงห์ โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 240

ผศ.ดร.ชาญชัย แสงชโยสวัสดิ์  โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 237

 

ตัวบ่งชี้ที่ 7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           กระบวนการ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้          :          

สถาบันควรมีการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจที่สอดรับกับนโยบายและการวางแผนระดับสถาบัน เพื่อให้เป็นระบบที่สมบูรณ์สามารถเชื่อมโยงกับทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอก เป็นระบบที่ใช้งานได้ทั้งเพื่อการบริหาร การวางแผน และการตัดสินใจของผู้บริหารทุกระดับ เพื่อการปฏิบัติงานตามภารกิจทุกด้านของบุคลากร เพื่อการติดตามตรวจสอบและประเมินการดำเนินงาน ตลอดจนเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาสถาบัน ทั้งนี้ ระบบดังกล่าวต้องมีความสะดวกในการใช้งานโดยประเมินจากความพึงพอใจของผู้ใช้

 

ผลการดำเนินงาน       :        

 

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานโดยสรุป

หลักฐาน (electronic)

1. มีแผนระบบสารสนเทศ (information system plan)

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรมีแผนระบบสารสนเทศ ร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์

7.3.1.1 แผนระบบสารสนเทศของคณะเกษตรศาสตร์

 

 

 

 

2. มีระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจตามพันธกิจของส่วนงาน โดยอย่างน้อยต้องครอบคลุมการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริหารจัดการ และการเงิน และสามารถนำไปใช้ในการดำเนินงานประกันคุณภาพ

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรได้ร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์มีระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจเป็นระบบสารสนเทศที่นำข้อมูลจากระบบสารสนเทศในการดำเนินงานตามปกติ เช่น ระบบบัญชี ระบบลงทะเบียนนักศึกษา ระบบทะเบียนประวัติ เป็นต้น มาสร้างเป็นสารสนเทศให้ผู้บริหารใช้ในการบริหารและการตัดสินใจในเรื่องที่เป็นพันธกิจของสถาบันได้อย่างครบถ้วน ทั้งด้านการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การเงิน การบริหารจัดการด้านอื่น ๆ รวมทั้งเป็นข้อมูลเพื่อใช้ในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาด้วย

7.3.2.1 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารของ ศวพก

3. มีการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรใช้ระบบการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบสารสนเทศร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์

7.3.3.1 ระบบสารสนเทศของคณะเกษตรศาสตร์

 

 

 

4. มีการนำผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบสารสนเทศมาปรับปรุงระบบสารสนเทศ

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรดำเนินการร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์นำผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบสารสนเทศมาปรับปรุงระบบสารสนเทศ

7.3.4.1 ระบบสารสนเทศของคณะเกษตรศาสตร์

 

 

 

 

 

 

5. มีการส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายของหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้องตามที่กำหนด

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรดำเนินการร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์ส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาตามที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากำหนด ได้แก่ ระบบฐานข้อมูลด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา (CHE QA online) ระบบฐานข้อมูลรายบุคคลด้านนักศึกษา บุคลากร และหลักสูตรในสถาบันอุดมศึกษา เป็นต้น

7.3.5.1 ระบบสารสนเทศของคณะเกษตรศาสตร์

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ

1  ข้อ

มีการดำเนินการ

2 ข้อ

มีการดำเนินการ  3  ข้อ

มีการดำเนินการ

4 ข้อ

มีการดำเนินการ

5 ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

 

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

5 ข้อ

5 ข้อ

þ บรรลุเป้าหมาย

5

 

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

รศ.ดร.เบญจพรรณ  เอกะสิงห์ โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 240

ผศ.ดร.ชาญชัย แสงชโยสวัสดิ์  โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 237

 

ตัวบ่งชี้ที่ 7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           กระบวนการ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้          :          

เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษามีระบบบริหารความเสี่ยง โดยการบริหารและควบคุมปัจจัย กิจกรรม และกระบวนการดำเนินงานที่อาจเป็นมูลเหตุของความเสียหาย (ทั้งในรูปของตัวเงิน หรือไม่ใช่ตัวเงิน เช่น ชื่อเสียง และการฟ้องร้องจากการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล หรือความคุ้มค่า) เพื่อให้ระดับความเสี่ยง และขนาดของความเสียหายที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอยู่ในระดับที่ยอมรับและควบคุมได้ โดยคำนึงถึงการเรียนรู้วิธีการป้องกันจากการคาดการณ์ปัญหาล่วงหน้าและโอกาสในการเกิด เพื่อป้องกันหรือบรรเทาความรุนแรงของปัญหา รวมทั้งการมีแผนสำรองต่อภาวะฉุกเฉิน เพื่อให้มั่นใจว่าระบบงานต่างๆ มีความพร้อมใช้งาน มีการปรับปรุงระบบอย่างต่อเนื่องและทันต่อการเปลี่ยนแปลงเพื่อการบรรลุเป้าหมายของสถาบันตามยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์เป็นสำคัญ

 

ผลการดำเนินงาน       :        

 

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานโดยสรุป

หลักฐาน (electronic)

1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงานบริหารความเสี่ยง โดยมีผู้บริหารระดับสูงและตัวแทนที่รับผิดชอบ พันธกิจหลักของส่วนงานร่วมเป็นคณะกรรมการหรือคณะทำงาน

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรมีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

7.4.1.1 เอกสารแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และการประชุม

 

 

 

2. มีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงอย่างน้อย 3 ด้าน ตามบริบทของส่วนงาน จากตัวอย่างต่อไปนี้

- ความเสี่ยงด้านทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคารสถานที่) 

- ความเสี่ยงด้านยุทธศาสตร์ หรือกลยุทธ์ของส่วนงาน

- ความเสี่ยงด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ

- ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน เช่น ความเสี่ยงของกระบวนการบริหารหลักสูตร   การบริหารงานวิจัย ระบบงาน ระบบประกันคุณภาพ

- ความเสี่ยงด้านบุคลากรและความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณของอาจารย์และบุคลากร   

- ความเสี่ยงจากเหตุการณ์ภายนอก

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรมีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง 4 ด้าน คือ ความเสี่ยงด้านยุทธศาสตร์ ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน ความเสี่ยงด้านทรัพยากร

7.4.2.1 รายงานการบริหารความเสี่ยงของ ศวพก 2553

 

 

 

 

 

 

3. มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลำดับความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ในข้อ 2

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรมีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลำดับความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ในข้อ 2

7.4.3.1 รายงานการบริหารความเสี่ยงของ ศวพก 2553

 

 

 

 

 

 

4. มีการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงสูง และดำเนินการตามแผน

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรมีการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงสูง และดำเนินการตามแผน

7.4.4.1 แผนบริหารความเสี่ยงของ ศวพก 2553

 

 

5. มีการติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานตามแผน และรายงานต่อคณะกรรมการอำนวยการประจำส่วนงานและคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและระบบการควบคุมภายในของมหาวิทยาลัยเพื่อพิจารณาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรมีการติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานตามแผน มีการรายงานคณะกรรมการบริหารคณะฯ ผ่านทางรายงานในระดับคณะเกษตรศาสตร์

7.4.5.1 รายงานการบริหารความเสี่ยงของ คณะเกษตรศาสตร์ 2553

7.4.5.2 รายงานแผนการจัดการความเสี่ยง

 

 

6. มีการนำผลการประเมิน และข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการอำนวยการประจำส่วนงานและคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและระบบการควบคุมภายในของมหาวิทยาลัยไปใช้ในการปรับแผนหรือวิเคราะห์ความเสี่ยงในรอบปีถัดไป

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรได้นำแผนบริหารความเสี่ยงในรอบปีที่ผ่านมามาพิจารณาระดับความเสี่ยงที่เหลืออยู่หลังการจัดการ ความเสี่ยง รวมทั้งความเสี่ยงใหม่จากนโยบาย หรือสภาพแวดล้อมทางการศึกษาที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งภายใน และจากหน่วยงานกำกับมาปรับแผนในปีถัดไป

 

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ

1 ข้อ

มีการดำเนินการ

2 ข้อ

มีการดำเนินการ  3 หรือ 4  ข้อ

มีการดำเนินการ

5 ข้อ

มีการดำเนินการ 6 ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

 

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

6 ข้อ

5 ข้อ

þ บรรลุเป้าหมาย

4

 

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

รศ.ดร.เบญจพรรณ  เอกะสิงห์ โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 240

ผศ.ดร.ชาญชัย แสงชโยสวัสดิ์  โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 237

 

ตัวบ่งชี้ที่ 7.5(สมศ12)  การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของสภาสถาบัน (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           กระบวนการ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้        :        

คณะกรรมการบริหารประจำส่วนงานถือเป็นองค์กรหลักของส่วนงานที่ต้องมีบทบาทสำคัญในการกำหนดนโยบาย กรอบทิศทางการดำเนินงานตามอัตลักษณ์ของส่วนงาน กำหนดระบบกลไกและกระบวนการที่เป็นรูปธรรมในการบริหารจัดการเพื่อให้เกิดการกำกับดูแลและขับเคลื่อนส่วนงาน รวมทั้งการควบคุมและตรวจสอบการดำเนินงานของส่วนงานให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และการพัฒนาส่วนงานอย่างยั่งยืน

การประเมินผลความสำเร็จในการปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารประจำส่วนงานจะมุ่งเน้นการประเมินคุณภาพในการกำหนดทิศทางกำกับดูแลและขับเคลื่อนการดำเนินงานของส่วนงานตามหน้าที่และบทบาทของคณะกรรมการบริหารประจำส่วนงาน การบริหารและการจัดการตามหลักธรรมาภิบาล และการดำเนินงานตามมติการประชุมคณะกรรมการบริหารประจำส่วนงาน

 

ผลการดำเนินงาน       :        

 

ใช้ค่าคะแนนผลการประเมินผลการดำเนินงานของสภาสถาบัน (คะแนนเต็ม 5)

 

ผลการดำเนินงานและข้อมูลพื้นฐานในอดีตและปัจจุบัน :

 

 

 

ข้อมูล/เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง

            7.5.1 ผลการประเมินผลการดำเนินงานของสภาสถาบัน

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

รองคณบดีฝ่ายบริหารและพัฒนา
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริหาร อาคารสถานที่ เทคโนโลยีสารสนเทศและวิทยบริการ
เลขานุการคณะ

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

สุดใจ  สันธทรัพย์/ธีระพงศ์  ปัญญาตุ้ย/อัญชลี  นากา

โทรศัพท์  053-94-4012 ต่อ 108

 

ตัวบ่งชี้ที่ 7.6(สมศ13)  การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถาบัน (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           กระบวนการ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้        :        

การประเมินผลตามหน้าที่และบทบาทของผู้บริหารในการบริหารและการจัดการให้บรรลุผลสำเร็จตามแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติงานประจำปีของส่วนงาน จะมุ่งเน้นการประเมินคุณภาพของการบริหารงานตามนโยบายของคณะกรรมการอำนวยการประจำส่วนงาน ประสิทธิผลของแผนปฏิบัติการประจำปี ความสามารถในการบริหารและการจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร

 

ผลการดำเนินงาน       :        

 

ใช้ค่าคะแนนการประเมินผลผู้บริหารโดยคณะกรรมการที่สภาสถาบันแต่งตั้ง (คะแนนเต็ม 5)

 

ผลการดำเนินงานและข้อมูลพื้นฐานในอดีตและปัจจุบัน :

 

 

 

ข้อมูล/เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง

            13.1 ผลการประเมินผู้บริหารโดยคณะกรรมการที่สภาสถาบันแต่งตั้ง

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

รองคณบดีฝ่ายบริหารและพัฒนา
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริหาร อาคารสถานที่ เทคโนโลยีสารสนเทศและวิทยบริการ
เลขานุการคณะ

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

สุดใจ  สันธทรัพย์/ธีระพงศ์  ปัญญาตุ้ย/อัญชลี  นากา

โทรศัพท์  053-94-4012 ต่อ 108

 

 

Reserved: องค์ประกอบที่ 8  การเงินและงบประมาณ

 

ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ (ปีงบประมาณ)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           กระบวนการ 

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้          :          

สถาบันอุดมศึกษาจะต้องมีระบบในการจัดหาและจัดสรรเงินอย่างมีประสิทธิภาพ จะต้องมีแผนกลยุทธ์ทางด้านการเงินซึ่งเป็นแผนจัดหาเงินทุนจากแหล่งเงินทุนต่างๆ ที่สามารถผลักดันแผนกลยุทธ์ของสถาบันให้สามารถดำเนินการได้ มีการวิเคราะห์รายได้ ค่าใช้จ่ายของการดำเนินงาน ทั้งจากงบประมาณแผ่นดินและเงินรายได้อื่นๆ ที่สถาบันได้รับ มีการจัดสรรงบประมาณและการจัดทำรายงานทางการเงินอย่างเป็นระบบครบทุกพันธกิจ มีระบบการตรวจสอบการใช้เงินอย่างมีประสิทธิภาพ รายงานทางการเงินต้องแสดงรายละเอียดการใช้จ่ายในทุกพันธกิจ โครงการ กิจกรรม เพื่อให้สามารถวิเคราะห์สถานะทางการเงินและความมั่นคงของสถาบันได้

 

ผลการดำเนินงาน       :        

 

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานโดยสรุป

หลักฐาน (electronic)

1. มีแผนกลยุทธ์ทางการเงินที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของส่วนงาน

การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีของ ศวพก. ทางคณะเกษตรศาสตร์กำหนดให้โครงการ/กิจกรรม ที่ขอตั้งงบประมาณต้องมีความสอดคล้องเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์และแนวทางในการบริหารงานของคณะฯ และตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการของคณะฯ เพื่อให้บรรลุพันธกิจและวิสัยทัศน์

8.1.1.1 ประกาศคณะเกษตรศาสตร์ เรื่อง หลักเกณฑ์ในการพิจารณาคำของบประมาณรายจ่ายประจำปี

 

 

2. มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางด้านการเงิน  หลักเกณฑ์การจัดสรร และการวางแผนการใช้เงินอย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส  ตรวจสอบได้

มีการจัดทำแผนการจัดหาทรัพยากรทางการเงินให้สอดคล้องกับการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีโดยในการจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีของ ศวพก. คณะเกษตรศาสตร์กำหนดให้ ศวพก.จัดทำประมาณการรายรับและรายจ่ายประจำปี แนบประกอบแบบคำขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี เพื่อให้รายรับและรายจ่ายตามงบประมาณเป็นไปอย่างเหมาะสม ตามหลักเกณฑ์ที่คณะเกษตรศาสตร์กำหนด

8.1.2.1 แบบสรุปประมาณการรายรับ และประมาณการรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2554

 

 

 

 

3. มีงบประมาณประจำปีที่สอดคล้องกับแผนปฎิบัติการใน แต่ละพันธกิจและการพัฒนาส่วนงานและบุคลากร

มีการนำงบประมาณรายจ่ายประจำปี มากำหนดเป็นแผนปฏิบัติการ (Action Plan) เพื่อให้การดำเนินงานในแต่ละโครงการ/กิจกรรม สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และตัวชี้วัด ของคณะเกษตรศาสตร์

8.1.3.1 แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ 2553 ของ ศวพก.

4. มีการจัดทำรายงานทางการเงินอย่างเป็นระบบ และรายงานต่อคณะกรรมการอำนวยการประจำส่วนงานอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง

ศวพก. เป็นหน่วยงานภายใต้การบริหารจัดการของคณะเกษตรศาสตร์ ดังนั้น การจัดทำรายงานการเงินจะดำเนินการโดยงานการเงิน  คณะเกษตรศาสตร์ และจัดส่งให้ทาง ศวพก. เป็นประจำทุกเดือน รายงานการเงินจะประกอบด้วย

- เงินรายได้สะสมในแต่ละเดือน

- รายงานสถานะรายรับ รายจ่ายและเงินคงเหลือที่เป็นปัจจุบัน

- รายงานการเบิกจ่ายเงินงบประมาณเงินรายได้ ในระบบบัญชี 3 มิติ

- รายงานการเบิกจ่ายเงินงบประมาณเงินรายได้ ในระบบบัญชี 3 มิติ

- รายงานการเบิกจ่ายเงินงบประมาณแผ่นดิน ในระบบบัญชี 3 มิติ

เพื่อให้ ศวพก. ตรวจสอบ และนำเสนอผู้บริหาร ศวพก. รับทราบถึงสถานะการเงิน มีเพียงพอที่จะดำเนินกิจกรรมต่างๆ ของ ศวพก.

8.1.4.1 รายงานการเงินงบประมาณเงินรายได้ ประจำเดือน กันยายน 2553

8.1.4.2 รายงานการเงินงบประมาณแผ่นดิน ประจำเดือนกันยายน 2553

5. มีการนำข้อมูลทางการเงินไปใช้ในการวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย และวิเคราะห์สถานะทางการเงินและความมั่นคงของส่วนงานอย่างต่อเนื่อง

นอกเหนือจากรายงานการเงินที่คณะเกษตรศาสตร์จัดส่งให้ ศวพก. ซึ่งเป็นในลักษณะการเบิกจ่ายตามแผนงาน งาน ในระบบ 3 มิติ แล้ว ทางศวพก. ได้นำเสนอรายงานผลการปฏิบัติงาน ในรูปแบบของโครงการกิจกรรม ตามยุทธศาสตร์ กลยุทธ์และตัวชี้วัด เพื่อผู้บริหารได้รับทราบการใช้จ่ายเงินในแต่ละโครงการ/กิจกรรม ว่าเป็นไปตามแผนที่กำหนดหรือไม่

8.1.5 .1 ผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัด เงินงบประมาณแผ่นดิน ปี 2553

8.1.5.2 ผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัด เงินงบประมาณเงินรายได้ ศวพก. ปี 2553

8.1.5.3 ผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัด เงินงบประมาณเงินรายได้ หลักสูตรเกษตรศาสตร์เชิงระบบ ปี 2553

 

 

 

 

 

 

6. มีการตรวจติดตามการใช้เงินให้เป็นไปตามระเบียบและกฎเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด

มีหน่วยตรวจสอบภายในของมหาวิทยาลัย ทำหน้าที่ตรวจสอบ และติดตามการใช้เงินให้ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย แต่จะตรวจสอบที่ส่วนงานคณะเกษตรศาสตร์ แต่กรณีที่มีข้อสงสัยเกี่ยวพันกับหน่วยงานย่อยอาจเข้าตรวจเป็นกรณีๆ ไป ไม่ได้เข้าตรวจเป็นประจำ

 

 

 

7. ผู้บริหารระดับสูงมีการติดตามผลการใช้เงินให้เป็นไปตามเป้าหมาย และนำข้อมูลจากรายงานทางการเงินไปใช้ในการวางแผนและการตัดสินใจ

มีการสรุปข้อมูลการใช้จ่ายเงินงบประมาณก่อนการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี ประกอบด้วยรายจ่ายจริงปีก่อน งบประมาณได้รับปีปัจจุบัน เพื่อกำหนดวงเงินขอตั้งงบประมาณในแต่ละแผนงาน งาน กิจกรรม ในปีต่อไป ให้อยู่ในกรอบของแผนงานตามยุทธศาสตร์ ที่คณะกำหนด

8.1.7.1 ข้อมูลรายจ่ายจริงงบประมาณปี 2552 งบประมาณได้รับปี 2553 ขอตั้งงบประมาณปี 2554

 

 

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ

1 ข้อ

มีการดำเนินการ

2 หรือ 3 ข้อ

มีการดำเนินการ  4 หรือ 5 ข้อ

มีการดำเนินการ

6  ข้อ

มีการดำเนินการ 7 ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

 

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

7 ข้อ

7 ข้อ

þ บรรลุเป้าหมาย

5

 

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

มาลินี รัตน์ชเลศ โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 205

ภารดี ลิ้มวิทยากร โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 203

 

 

Reserved: องค์ประกอบที่ 9  ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

 

ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้           :         กระบวนการ

 

คำอธิบายตัวบ่งชี้         :        

การประกันคุณภาพการศึกษาภายในเป็นภารกิจของสถาบันอุดมศึกษาตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)  พ.ศ. 2545 ซึ่งสถาบันต้องสร้างระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ ประเมินและพัฒนาการดำเนินงานของสถาบันให้เป็นไปตามนโยบาย เป้าประสงค์ และระดับคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนดโดยสถาบันและหน่วยงานต้นสังกัด ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีการวัดผลสำเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน รวมทั้งการรายงานผลการประกันคุณภาพต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน มีการประเมินและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และมีนวัตกรรมที่เป็นแบบอย่างที่ดี

การประกันคุณภาพการศึกษาภายในถือเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการสร้างจิตสำนึกให้เห็นว่าเป็นความรับผิดชอบร่วมกันของทุกคนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ทั้งนี้ เพื่อเป็นหลักประกันแก่สาธารณชนให้มั่นใจได้ว่าสถาบันสามารถสร้างผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพ

 

ผลการดำเนินงาน       :        

 

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานโดยสรุป

หลักฐาน (electronic)

 

1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่เหมาะสมและสอดคล้องกับพันธกิจและพัฒนาการของส่วนงาน ตั้งแต่ระดับภาควิชาหรือหน่วยงานเทียบเท่า และดำเนินการตามระบบที่กำหนด

ศวพก. เป็นหน่วยงาน

หนึ่งภายใต้การบริหารของ

คณะเกษตรศาสตร์  โดยได้นำระบบและกลไกการจัดทำประกันคุณภาพ

การศึกษาของคณะฯ มา

ดำเนินการภายใน ศวพก.  และการดำเนินการดังกล่าว

สอดคล้องกับแนวทางการ

ประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัย

9.1.1.1 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา

9.1.1.2 แผนปฏิบัติงานแผนปฏิทินกิจกรรม

9.1.1.3 คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาประจำหน่วยงาน

 

 

 

 

 

 

 

2. มีการกำหนดนโยบายและให้ความสำคัญเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดยคณะกรรมการระดับนโยบายและผู้บริหารสูงสุดของส่วนงาน

ผู้บริหาร ศวพก. ได้ให้ความสำคัญกับการประกันคุณภาพ พร้อมกับได้นำ

นโยบายของผู้บริหารมา

ทำความเข้าใจกับบุคลากรภายในหน่วยงานอย่างทั่วถึง

9.1.2.1 นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย จากเวปไซต์สำนักงานพัฒนาคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่

9.1.2.2 นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาของคณะเกษตรศาสตร์

9.1.2.3 บันทึกรายงานการประชุมคณะกรรมการประกันคุณภาพ ภายใน ศวพก.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3. มีการกำหนดตัวบ่งชี้เพิ่มเติมตามอัตลักษณ์ของส่วนงาน

 

ศวพก. ได้นำตัวชี้วัด

ของ สมศ. และของมหา

วิทยาลัยเชียงใหม่ มากำหนดตัวบ่งชี้ เพื่อชี้วัดคุณลักษณะที่เป็นจุดเด่น และความเชี่ยวชาญเฉพาะของหน่วยงาน

9.1.3.1 ปรัชญา ปณิธาน

พันธกิจหน่วยงาน ศวพก.

4. มีการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ครบถ้วน ประกอบด้วย 1) การควบคุม ติดตามการดำเนินงาน และประเมินคุณภาพ โดยจัดทำในรูปแบบรายงานการประเมินตนเอง 2) เสนอรายงานผลการตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินของมหาวิทยาลัยต่อคณะกรรมการอำนวยการประจำส่วนงาน และ 3) การนำผลการประเมินคุณภาพไปทำแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของส่วนงาน

ผู้บริหาร ศวพก. ได้

มีนโยบายให้บุคลากร

ภายในหน่วยงาน มีส่วนร่วม

ดำเนินการจัดทำการประ

กันคุณภาพการศึกษา ตาม

องค์ประกอบ 9 ด้าน พร้อม

กับได้มีการดำเนินการ

วางแผนการจัดทำประกัน

คุณภาพการศึกษาประจำปี

    ผู้บริหาร ศวพก. ได้

เสนอรายงานการจัดทำ

ประกันคุณภาพการศึกษา

ต่อคณะกรรมการอำนวย

การประจำส่วนงาน

9.1.4.1 บันทึกรายงานการประชุมคณะกรรมการประกันคุณภาพ ประจำ

หน่วยงานเมื่อวันที่ 1 ก.พ. 2554

9.1.4.2 รายงานการประชุมคณะกรรมการอำนวยการคณะเกษตรศาสตร์

 

 

 

 

 

 

 

5. มีการนำผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมาปรับปรุงการทำงาน และส่งผลให้มีการพัฒนาผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ทุกตัวบ่งชี้

 

 

 

6. มีระบบสารสนเทศที่ให้ข้อมูลสนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษาภายในครบทั้ง 9 องค์ประกอบคุณภาพ

 

ศวพก. ได้ดำเนินการ

จัดทำประกันคุณภาพการ

ศึกษาที่ถูกต้องเป็นปัจจุบัน

โดยมอบหมายให้ผู้เชี่ยวชาญ

ด้านการจัดทำระบบฐานข้อ

มูลภายใน ศวพก. เป็นผู้

ดูแล และจัดเก็บข้อมูลอย่าง

เป็นระบบ

9.1.6.1 ระบบสารสนเทศภายใน ศวพก.

9.1.6.2 ระบบการจัดเก็บหลักฐานประกันคุณภาพคณะเกษตรศาสตร์

 

7. มีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการประกันคุณภาพการศึกษา โดยเฉพาะนักศึกษา ผู้ใช้บัณฑิต และผู้ใช้บริการตามพันธกิจของส่วนงาน

ศวพก. ได้ส่งเสริมและ

สนับสนุนบุคลากรของ

หน่วยงานเข้ามามีส่วนร่วม

กับการจัดทำประกันคุณภาพการศึกษา อาทิเช่น

การมอบหมายให้บุคลากร

ของหน่วยงานเข้ารับการ

ฝึกอบรมที่ดำเนินการโดย

คณะเกษตรศาสตร์ และ

ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

9.1.7.1 กิจกรรมการสนับสนุนและพัฒนาให้บุคลากรเข้ารับการฝึกอบรม การประชุม การสัมมนา ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา

9.1.7.2 การฝึกอบรมการประกันคุณภาพ

9.1.7.3 การประกันคุณภาพนักศึกษา

 

8. มีเครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษาระหว่างส่วนงาน หรือ มหาวิทยาลัย และมีกิจกรรมร่วมกัน

ผู้บริหาร ศวพก. ได้เข้าร่วม

การฝึกอบรม สัมมนาเพื่อแลก

เปลี่ยนความรู้ด้านการประกัน

คุณภาพการศึกษา ร่วมกับคณะ

/สถาบันภายในมหาวิทยาลัย ที่จัดโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

9.1.8.1 กิจกรรมด้านการพัฒนาส่งเสริม ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของคณะเกษตรศาสตร์ และสำนักงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา

9. มีแนวปฏิบัติที่ดีหรืองานวิจัยด้านการประกันคุณภาพการศึกษาที่ส่วนงานพัฒนาขึ้น และเผยแพร่ให้หน่วยงานอื่นสามารถนำไปใช้ประโยชน์

ศวพก. ได้ดำเนินงานด้าน

การประกันคุณภาพการศึกษา

ตามแนวทางของคณะเกษตร

ศาสตร์ และของมหาวิทยาลัย

เชียงใหม่  ซึ่งคณะเกษตร-ศาสตร์ ได้มีการพัฒนาแนวปฏิบัติที่ดีขึ้น และร่วมกันใช้

เป็นแนวทางปฏิบัติเดียวกัน

9.1.9.1 คู่มือประกันคุณภาพ

การศึกษา 2553 สำนักงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา

9.1.9.2 คู่มือการประกัน

คุณภาพการศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ 2553

 

เกณฑ์การประเมิน      :        

 

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ

1  ข้อ

มีการดำเนินการ

2 หรือ 3   ข้อ

มีการดำเนินการ  4

หรือ 5 หรือ 6 ข้อ

มีการดำเนินการ

7  หรือ 8 ข้อ

มีการดำเนินการ

9 ข้อ

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

 

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

þ บรรลุเป้าหมาย

ý ไม่บรรลุเป้าหมาย

คะแนนประเมินตนเอง

9 ข้อ

8 ข้อ

þ บรรลุเป้าหมาย

4

 

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

รศ.ดร.เบญจพรรณ  เอกะสิงห์ โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 240

ปรารถนา  ใจมานิตย์ โทรศัพท์  053-94-4621 ต่อ 204

 

 

ตัวบ่งชี้ที่ 9.2(สมศ15)  ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยต้นสังกัด (ปีการศึกษา)

 

ชนิดของตัวบ่งชี้            :           ผลลัพธ์

 

ผลการดำเนินงาน       :        

 

ใช้คะแนนประเมินระบบประกันคุณภาพภายในของสถาบันอุดมศึกษาระดับสถาบัน ตามที่หน่วยงานต้นสังกัดกำหนด (คะแนนเต็ม 5)

 

สูตรการคำนวณ                   :  

 

นำคะแนนที่ได้จากค่าเฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ของทุกองค์ประกอบมาบันทึกไว้

 

ผลการประเมินตนเอง  :        

 

 

 

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

รองคณบดีฝ่ายบริหารและพัฒนา
เลขานุการคณะ

ผู้ตรวจสอบ/รวบรวมข้อมูล

สากันย์  สุวรรณการ

โทรศัพท์  053-94-4009 ต่อ 111