ระบบเกษตรที่ลุ่ม    
| หน้าแรก | เกษตรบนที่สูง | เกษตรบนที่ดอนอาศัยน้ำฝน| เกษตรที่ลุ่ม | เกษตรชานเมือง | ผลงานวิจัย | งานบริการวิชาการ | เครือข่ายเกษตรยั่งยืน | |
 
หน้าเกษตรยั่งยืน
    ระบบเกษตรที่ลุ่ม
 
   
       
     
 
การมีส่วนร่วมของเกษตรกรในการปรับปรุงข้าวนาน้ำฝน     ..........................................................................................................
การปลูกข้าวแบบประณีการปลูกข้าวแบบ SRI สำหรับเกษตรกรรายย่อยต   ระบบนิเวศเกษตรที่สำคัญของพื้นที่ลุ่มที่อิงการผลิตข้าวเป็นหลัก ได้แก่ พื้นที่นาลุ่มเขตน้ำฝน และ พื้นที่นาลุ่มเขตชลประทาน
ทำไมต้องปลูกข้าวแบบประณีต ?
การมีส่วนร่วมของเกษตรกรในการปรับปรุงพันธุ์ข้าวนาน้ำฝนในภาคเหนือ
เทคโนโลยีที่สนับสนุนเกษตรยั่งยืน พื้นที่นาน้ำฝนครอบคลุมพื้นที่มากกว่าร้อยละ 70 ของพื้นที่ปลูกข้าวของภาคเหนือ ในพื้นที่นาลุ่มดังกล่าวนี้ บางพื้นที่ เป็นพื้นที่นาลุ่มน้ำท่วม เช่น จ.พิจิตร จ.พิษณุโลก ในภาคเหนือตอนล่าง และ จ.เชียงราย จ.พะเยา ในภาคเหนือตอนบน โดยเฉพาะพื้นที่บริเวณสองฝั่งแม่น้ำ เช่นลุ่มน้ำอิง เกษตรกรจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนวิธี ีการปลูกข้าวหรือเลือก ใช้พันธุ์ข้าวขึ้นน้ำ เช่น กข 19 ในพื้นที่ อ.โพทะเล จ.พิจิตร และ อ.เชียงคำ จ.พะเยา แต่การเลือกใช้พันธุ์เฉพาะพื้นที่นาลุ่มน้ำท่วม ยังไม่แพร่หลายเนื่องจากเกษตรกรเข้าไม่ถึงข้อมูลดังกล่าว
สภาพนิเวศน์เกษตร เศรษฐกิจและสังคมของระบบการผลิตข้าวนาน้ำฝนในภาคเหนือ  
     
       
เครือข่าย-ข้อมูลสนับสนุนเกษตรที่ลุ่ม
  ในพื้นที่นาลุ่มน้ำท่วมในเขตพิษณุโลก (อ. พรหมพิราม) และพิจิตร (อ. โพธิ์ทะเล) เกษตรกรได้รับประโยชน์ จากผล พวงของข้าวสมัยใหม่พันธุ์อายุสั้นและไม่ไวแสง โดยเกษตรกรสามารถหว่านข้าวอายุสั้น เช่น สุพรรณบุรี 1 หลังจาก น้ำลดในช่วงต้นเดือนธันวาคมและสามารถปลูกข้าวติดต่อกัน 2 ครั้ง ก่อนที่จะถึงฤดูน้ำหลากในระหว่างปลายเดือน สิงหาคมกันยายน พื้นที่นาลุ่มน้ำท่วมที่สามารถปลูกข้าวติดต่อกัน 2 ครั้งหลังฤดูน้ำลดดังกล่าวนี้จะอยู่ในพื้นที่รับ น้ำชลประทานหรือในพื้นที่เกษตรกรสูบน้ำจากบ่อตอก
 
เครือข่ายข้าวประณีต(SRI): งานวิจัยข้าว SRI หน่วยงานในเครือข่าย , สรุปการประชุม 23 มิ.ย. 46    
เครือข่ายข้าวนาน้ำฝน      
คู่มือการปลูกโสนเป็นปุ๋ยพืชสดในนาข้าว     โครงการกระจายการผลิตของกรมส่งเสริมการเกษตรได้มีส่วนปรับเปลี่ยนพื้นที่นาน้ำฝนบางแห่งเป็นเกษตรผสมผสานที่มีสระน้ำเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการสนับสนุนการผลิต
บทบาทของโสนต่อข้าวที่ลุ่มภาคเหนือ (Case study)      
        สำหรับในพื้นที่นาชลประทาน ความเหมาะสมของภูมิอากาศ ความอุดมสมบูรณ์ของดิน และระบบชลประทาน เป็นปัจจัยหลักที่ทำให้มีการปฏิบัติระบบการผลิตแบบเข้มข้น โดยเฉพาะพื้นที่รับน้ำในแอ่งเชียงใหม่-ลำพูน มีระบบพืชที่มีข้าวเป็นพืชหลักที่หลากหลาย เช่น ข้าว-มันฝรั่ง-ข้าวโพดหวาน ข้าว-หัวหอมใหญ่-ข้าว ข้าว-กระเทียม-ข้าวโพดเหนียว ข้าว-พริก ข้าว-ถั่วเหลือง ข้าว-มะเขือเทศ ข้าว-พืชผัก เป็นต้น โครงการกระจายการผลิตและโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ ได้ปรับเปลี่ยนพื้นที่นาชลประทานบางส่วนเป็นระบบเกษตรผสมผสานที่มีข้าวและบ่อปลาเป็นกิจกรรมหลัก นอกจากนี้เกษตรกรชานเมืองได้ปรับเปลี่ยนพื้นที่นาเป็นพื้นที่ปลูกไม้ผลโดยเฉพาะลำไย และเสริมด้วยพืชผักที่มีการผลิตแบบปลอดสารพิษระหว่างร่องสวนลำไย ซึ่งได้กลายเป็นระบบเกษตรชานเมืองที่สำคัญระบบหนึ่ง โดยเฉพาะเมืองใหญ่ ๆ เช่น เชียงใหม่ และพิษณุโลก
       
       
แนะนำเวปไซต์
     
 
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ     การพัฒนาเกษตรในภาคเหนือโดยอาศัยฐานทรัพยากรธรรมชาติตลอดระยะเวลา 4 ทศวรรษที่ผ่านมา ได้สร้างระบบการผลิตที่เป็นเอกลักษณ์ของ สภาพภูมินิเวศการเกษตรในพื้นที่นาน้ำฝน ซึ่งมีความเสี่ยงสูงจากภาวะความแปรปรวนของฝนซึ่งประกอบด้วย ฝนทิ้งช่วงต้นฤดูหลังปักดำข้าว ฝนหมดก่อนฤดูระยะข้าวสร้างเมล็ด หรือภาวะน้ำท่วมขังตั้งแต่กลางฤดูฝนช่วงเดือนสิงหาคม-กันยายน ได้นำความเสียหายมาสู่พื้นที่ข้าว นาน้ำฝนทุกปี ปัจจุบันยังไม่ได้มีการกำหนดแผนการปรับปรุงที่นำไปปฏิบัติได้อย่างเป็นระบบ มีแต่แผนงานบรรเทาทุกข์ "น้ำท่วม ฝนแล้ง แมลงลง"
 
เมล็ดพันธุ์พืชและแหล่งจำหน่าย    
 
ข้อมูลพันธุ์ข้าวพื้นเมืองไทย    
 
ข้อมูลพันธุ์พืชรับรอง    
 
การปลูกข้าวขาวดอกมะลินอกฤดู     อย่างไรก็ตามโครงการกระจายการผลิตได้มีส่วนเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินโดยเฉพาะพื้นที่นาน้ำฝนใกล้ถนนใหญ่ ที่เกษตรกรสามารถควบคุมการจัดการผลิต การขนส่ง และการตลาดได้อย่างสะดวก ในส่วนนี้ได้เห็นการขยายผลของประมงน้ำจืด ซึ่งมีทั้งการเลี้ยงปลาผสมผสานกับการเกษตร ในจังหวัดภาคเหนือตอนบน เช่น เชียงราย (เส้นทางพญาเม็งราย - เชียงของ)
 
ข้าวและธัญพืช    
 
ข้าวพันธุ์ใหม่    
 
ความรู้เกี่ยวกับข้าว    
 
การผลิตข้าวอินทรีย์     ศูนย์วิจัยได้ดำเนินงานวิจัยทั้งในพื้นที่ลุ่มอาศัยน้ำฝน นาลุ่มมีระบบน้ำชลประทานซึ่งมีกรอบงานวิจัยดังนี้
 
งานทดลองด้าน SRI Cornell university      
 
สถาบันวิจัยข้าวนานาชาติ (IRRI)    
การพัฒนาระบบเกษตรประณีตที่มีข้าวเป็นพืชหลักอย่างยั่งยืน
   
       
การมีส่วนร่วมของเกษตรกรในการปรับปรุงข้าวนาน้ำฝน
   
       
ระบบเกษตรผสมผสานกับการฟื้นฟูเศรษฐกิจชุมชน
   
         
        ทิศทางการพัฒนาระบบเกษตรเพื่อการดำรงชีพอย่างยั่งยืนของเกษตรกรใน;
       
ระบบการเกษตรแบบเข้มข้นในพื้นที่ราบลุ่ม    
       
ระบบเกษตรนาน้ำฝน    
         
        โครงการวิจัยที่กำลังดำเนินการ
       
 องค์ความรู้ท้องถิ่นและกระบวนการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนระบการผลิตทางเกษตรอย่างยั่งยืนของชุมชนภาคเหนือ    
         
        โครงการวิจัยที่เสร็จสิ้นแล้ว
       
การจัดประชุมลำดับความสำคัญงานวิจัยข้าวโพดในประเทศไทย ครั้งที่ 2    
       
โครงการจัดการน้ำและฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดินในนาข้าว    
       
ระบบสนับสนุนการวางแผนการจัดการทรัพยากร เพื่อการเกษตรและการบริการ ระยที่ 1ภาคเหนือตอนบน: ประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรดินและน้ำชลประทาน    
       
นโยบายด้านข้าวโพดในประเทศไทย    
         
        งานวิจัยสถานีทดลองเกษตรเขตชลประทาน
         
 
ผลงานวิจัยระบบเกษตรที่ลุ่ม
   

 

| หน้าหลัก | ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ | ระบบธุรกิจเกษตร | ระบบเกษตรยั่งยืน | ผลงานวิจัยศวพก | งานบริการวิชาการศวพก. | หลักสูตรปริญญาโท | คณะเกษตรศาสตร ์| มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |

 

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร, คณะเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, จ. เชียงใหม่ 50200 โทรศั์พท์ 053-221275 โทรสาร 053-210000 Homepage: http://www.mcc.cmu.ac.th