Main Menu


 

 

การบรรยายพิเศษและ Plenary Session

 
บรรยายพิเศษ : กรมวิชาการเกษตรกับการผลิตสินค้าพืช
โดย อธิบดีกรมวิชาการเกษตร คุณเมทนี สุคนธรักษ์
บรรยายพิเศษ : Climate Risk Communication: Issue and Concerns for Thailand
โดย ดร. อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
บทความ : การคาดการณ์สภาพอากาศในอนาคตของประเทศไทย
โดย คุณศุภกร ชินวรรโณ
บทความ : แผนบรรเทาภาวะโลกร้อนด้านการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โดย คุณยุทธชัย อนุรักติพันธ์
บทความ : วิธีการและเครื่องมือในการศึกษาผลกระทบโลกร้อนต่อระบบเกษตร
โดย รศ.ดร. อรรถชัย จินตะเวช
บทความ : เกษตรยั่งยืนเพื่อชุมชน : มุมมองมากกว่าชุมชน
โดย รศ. ดร. สุจินต์ สิมารักษ์
บทความ : การปรับตัวของวิสาหกิจชุมชนฐานเกษตรในตลาดกระแสหลักสู่ความยั่งยืน
โดย รศ. ดร. อารี วิบูลย์พงศ์
บทความ : กลไกการทำงานชุมชนเพื่อขับเคลื่อนสังคมเกษตรยั่งยืน
โดย พฤกษ์ ยิบมันตะสิริ
บทความ : ระบบวิเคราะห์การตัดสินใจแบบหลายหลักเกณฑ์ที่ใช้ข้อมูลเชิงพื้นที่
โดย อาจารย์ ดร. เมธี เอกะสิงห์
บทความ : Companion Modelling for Resilient Agricultural Systems in Asia
โดย : Dr. Guy Trebuil CU-Cirad Common Project
บทความ : การประยุกต์ใช้แบบจำลองเพื่อตัดสินใจขยายพื้นที่ปลูกปาล์มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
โดย ดร. สมเจตน์ ประทุมมินทร์

รายชื่อผู้นำเสนอภาคบรรยาย

ที่
ชื่อผู้บรรยาย
ชื่อบทความ
1
ศุภธิดา อ่ำทอง ความสัมพันธ์ระหว่างการเก็บรักษาอินทรีย์คาร์บอนของดินที่มีการใช้ที่ดินแบบต่างๆ
และคุณภาพของดิน(Soil Carbon Storage in Relation to Land Use and Soil Quality)
2
นงคราญ ประมูล ความเต็มใจจ่ายเพื่อให้ได้ทรัพยากรน้ำที่ดีขึ้นของเกษตรกรปลายน้ำลุ่มน้ำแม่สา
3
วรพงษ์ พลกองแก้ว การประเมินความพึงพอใจต่อคุณภาพและความปลอดภัยของส้มเขียวหวานของผู้บริโภคใน
จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้วิธีการทดลองทางเลือก
4
ศักดิ์ดำเนิน นนท์กิติ ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานของเกษตรกรผู้ปลูกลำไย
ในจังหวัดลำพูน
5
ชฎา ณรงค์ฤทธิ์ การวิเคราะห์เส้นความยากจนและความมั่นคงด้านอาหาร
6
บุญเทียม เลิศศุภวิทย์นภา ระดับความเสี่ยงของเกษตรกรเขตอาศัยน้ำฝนต่อสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง
7
วรงศ์ นัยวินิจ

การเพิ่มศักยภาพการปรับตัวของเกษตรกรในการจัดการทรัพยากรดิน น้ำ และ แรงงาน

8
พงษ์ชัย ดำรงโรจน์วัฒนา การวิเคราะห์สภาพพื้นที่และการใช้แบบจำลองเพื่อนคู่คิดเพื่อบูรณาการผู้มีผลประโยชน์ร่วม
ในพื้นที่ลุ่มน้ำน่านตอนบน
9
ปัญจพร ตั้งศิริ อิทธิพลของวัสดุอินทรีย์หลากชนิดต่อการลดความเค็มของดินและผลผลิตข้าวที่ปลูกบน
พื้นที่ดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
10
เบญจพรรณ เอกะสิงห์ การร่วมตัดสินใจหาทางเลือกรับมือกับความเสี่ยงทางเศรษฐกิจของกลุ่มเกษตรกรในจังหวัด
เชียงใหม่ พะเยา และ ลำปาง
11
กมล งามสมสุข
เบญจพรรณ เอกะสิงห์
ผลการจำลองสถานการณ์ความเสี่ยงด้านเศรษฐกิจในการปลูกข้าวและข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของ
เกษตรกรในจังหวัดพะเยาและลำปาง
12
Shreedhar Gyawali Livelihood and food security assessment of Tharu Ethnic people,
13
Zaw Wan Soil Erosion Risk Assessment Using GIS and Farmer’s Perception: A Case Study in Dry
Zone Area of Central Region of Myanmar
14
Soe Soe win An Empirical Study of the Efficiency of Groundnut Production in Central of
15
พนมศักดิ์ พรหมบุรมย์ การศึกษาระบบเกษตรกับการจัดการทรัพยากรลุ่มน้ำบนที่สูงผ่านกระบวนการพัฒนา
แบบจำลองแบบมีส่วนร่วม
16
จิรวรรณ กิจชัยเจริญ Linkages between Access to Water and Livelihood Strategies Using Sustainable
Livelihood Framework
17
ยุภาพร ศิริบัติ Socio-Economic Conditions Affecting Small Farmer’s Management of Wetland
Agro-Biodiversity in Dongsan Village, Akat Amnuai District, Sakon Nakhon Province,
Thailand.
18
นันทิยา หุตานุวัตร ระบบเกษตรผสมผสานที่มีข้าวหอมมะลิอินทรีย์เป็นพืชหลัก : ความเป็นไปได้ในการเป็นอาชีพทางเลือกที่มีศักยภาพการแก้ไขปัญหาความยากจน
19
ถาวร อ่อนประไพ การประเมินสถานภาพลุ่มน้ำย่อยแบบรวดเร็วโดยใช้ฐานข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดิน
และปริมาณมวลชีวภาพของพืชพรรณ
20
ช่อผกา ม่วงสุข การกระจายการผลิตในการดำรงชีพ เพื่อความอยู่รอดของเกษตรกรรายย่อย
21
บุศรา ลิ้มนิรันดร์กุล การใช้แนวคิดการพึ่งพิง (interdependency) กับจัดการทรัพยากรชีวภาพอย่างยั่งยืน
22
วิลาวัลย์ สิทธิบูรณ์ แผนการผลิตข้าวในที่ลุ่มที่เหมาะสมภายใต้ความเสี่ยงจังหวัดพะเยา
23
เกริก ปิ่นตระกูล ผลกระทบจากการใช้ปุ๋ยบำรุงดินต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมสำหรับการทำนา
24
อำพรรณ พรมศิริ การใช้วัชพืชและพืชท้องถิ่นผลิตวัสดุก่อสร้าง ทางเลือกสำหรับที่อยู่อาศัย เพื่อการพึ่งพาตนเองสำหรับชาวชนบท
25
ชาญชัย แสงชโยสวัสดิ์ การประเมินสภาวะความเสื่อมโทรมของทรัพยากรที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำ
26
กฤษณ์ สินวัฒนา การพัฒนาเทคโนโลยีการปลูกพืชโดยใช้ปัจจัยด้านดินกับน้ำและแบบจำลองสมดุลน้ำผิวดิน
27
ธวัชชัย ศุภดิษฐ์ การใช้น้ำสกัดชีวภาพจากหนอนตายหยากและสับปะรดควบคุมหนอนแมลงวันบ้าน
28
เกลียวพันธุ์ สุวรรณรักษ์ โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการศัตรูสับปะรดเพื่อแก้ปัญหาโรคเหี่ยว
29
พัฒนา เจียรวิริยะพันธ์ ผลกระทบของการขนส่งที่มีผลต่อสภาวะโลกร้อน: กรณีศึกษาการส่งออกสินค้ายางพาราไปยังประเทศจีน
30
โสพล ไกยะสินธ์ การพัฒนาทุ่งกุลาร้องไห้กับการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศน์
31
นงลักษณ์ สุพรรณไชยมาตย์ การจัดการระบบฟาร์มซึ่งมีสระน้ำประจำไร่นา: กรณีศึกษาบ้านหนองแซง อ. บ้านแฮด จ. ขอนแก่น
32
สุภา รันดาเว การพัฒนาเทคโนโลยีป้องกันการชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังแบบ
เกษตรกรมีส่วนร่วมเพื่อเกษตรยั่งยืนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
33
ณัฐวุฒิ ภาษยะวรรณ ผลกระทบการส่งเสริมปลูกยางพาราต่อระบบการปลูกพืชบนที่ดอน จ.พิษณุโลก
34
รัชนี โสภา การใช้ปุ๋ยพืชสดปรับปรุงบำรุงดินก่อนการปลูกถั่วเหลืองฝักสดอินทรีย์สภาพไร่อาศัยน้ำฝน
35
เยาวเรศ เชาวนพูนผล ประสิทธิภาพของตลาดในการส่งผ่านราคาและผลประโยชน์สู่มือเกษตร
36
สมชาย โสแก้ว การปรับปรุงและการประเมินแบบจำลองการเจริญเติบโตของข้าวภายใต้ FARMSIM


รายชื่อผู้นำเสนอภาคโปสเตอร์

ที่
ชื่อผู้บรรยาย
ชื่อบทความ
1
ภิเชษฐ์ ใบเขียว อิทธิพลของไนโตรเจนและโพแทสเซียมต่อผลผลิตและคุณภาพของพืชพลังงาน
ทดแทน: แก่นตะวัน
2
ใจ สมสะอิน อิทธิพลของฟอสฟอรัส และสังกะสีต่อถั่วเหลือง
3
เบ็ญจพร กุลนิตย์ อิทธิพลของการขาดธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมต่อผลผลิต และคุณภาพของพืชพลังงานทดแทน : แก่นตะวัน
4
อรรณพ กสิวิวัฒน์ การทดสอบและพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดลูกผสม การผลิตเมล็ดพันธุ์ และการกระจายพันธุ์ข้าวโพดลูกผสมแบบบูรณาการในพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์
5
ไพโรจน์ สุวรรณจินดา กระบวนการและปัจจัยที่มีผลต่อการปรับใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสับปะรด
ของเกษตรกร
6
ธีรพร กงบังเกิด ฐานข้อมูลศักยภาพและความพร้อมของวิสาหกิจชุมชนในการผลิตวัตถุดิบ อาหารและเครื่องดื่มจากผลผลิตทางการเกษตรในจังหวัดตามแนวระเบียงเศรษฐกิจ
ตะวันออก-ตกในประเทศไทย (ตาก- เพชรบูรณ์)
7
ยศ บริสุทธิ์ กระบวนการจัดการมาตรฐานข้าวอินทรีย์ในจังหวัดอุบลราชธานี (Organic Rice Standards
Management Process in Changwat Ubon Rarchathani)
8
อรรณพ กสิวิวัฒน์ ศึกษาระบบการปลูกพืชที่มีข้าวโพดเป็นพืชหลักในพื้นที่ลาดชัน จังหวัดเพชรบูรณ์
9
จุฑามาศ ปูริยะ แนวทางการลดต้นทุนการผลิตผักอินทรีย์บนพื้นที่สูงโดยใช้เชื้อแบคทีเรียเพิ่มความ
เป็นประโยชน์ของธาตุไนโตรเจน
10
จริยา ฉัตรคำ แนวทางการจัดการปุ๋ยเพื่อลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มการตรึงไนโตรเจนสำหรับการปลูกถั่วเหลืองฝักสด
11
ยศ บริสุทธิ์ การวิเคราะห์ระบบนิเวศเกษตรพื้นที่ผลิตข้าวอินทรีย์ในตำบลเกษม อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี
12
ประสบสุข  มงคลไชย ผลกระทบของไฟป่าต่อสมบัติบางประการของดินและ ความตระหนักเข้าใจของชาวเขาม้งดอยปุย